Page 91 - kpiebook67026
P. 91

90     ผลการใช้กฎหมายรับรองเพศสภาพ : กรณีประเทศอาร์เจนตินา มอลตา และไอซ์แลนด์



                                                                27
            การรอให้มีการประเมินผลกระทบระดับโครงการหรือแผนงาน  และหากพิจารณา
            ในฐานะกลไกด�าเนินการจะเห็นได้ว่า RIA มีลักษณะเป็นการด�าเนินการที่มีความ

            เป็นเหตุเป็นผล (logical process) อันสอดรับกับขั้นตอนที่ควรด�าเนินการเมื่อต้องมี
            การจัดท�านโยบายเพราะ RIA เรียกร้องให้มีการน�าเสนอหลักฐานที่แสดงข้อดีข้อเสีย

            ของทางเลือกนโยบายโดยพิจารณาจากผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น (potential impacts)
            นอกจากนี้ กลไกของ RIA ยังเรียกร้องให้ผู้ประเมินต้องหาทางเลือกที่ดีหรือเหมาะสมที่สุด

                        28
            เพื่อด�าเนินการ  จึงท�าให้กลไกนี้กระตุ้นให้เกิดการออกแบบทางเลือกหรือนโยบาย
            อย่างรอบคอบและเหมาะสมตามไปด้วยเพราะจะต้องมีการวิเคราะหต้นทุนและ

                                     29
            ผลประโยชนให้ชัดเจนนั่นเอง  โดยหากพิจารณาความสัมพันธระหว่าง RIA และ
            ข้อเสนอเชิงนโยบายจะพบว่า RIA เป็นเครื่องมือที่ช่วยในกระบวนตัดสินใจเกี่ยวกับ

            นโยบาย ไม่ใช่เครื่องมือที่น�ามาใช้แทนกระบวนการตัดสินใจ โดยข้อสรุปหรือค�าแนะน�า
            ที่ได้จากกระบวนการ RIA ไม่จ�าเป็นต้องมีความชัดเจนว่าจะต้องตัดสินใจทางใด

            แต่จะต้องมีการน�าเสนอข้อมูลที่ส�าคัญเกี่ยวกับผลลัพธที่จะเกิดจากทางเลือกอันจะเป็น
            ประโยชนต่อกระบวนการตัดสินใจทางนโยบาย 30










            27    Turnpenny and others (n 2) 195197-; Duncan Russel and Andrew Jordan,

            ‘Gearing-up governance for sustainable development: Patterns of policy appraisal
            in UK central government’ (2007) 50:1 Journal of Environmental Planning and
            Management 1, 2. อ้างถึงใน ส�านักนวัตกรรมเพื่อประชาธิปไตย สถาบันพระปกเกล้า, เรื่อง
            “แนวทางและวิธีการวิเคราะหผลกระทบทางสังคมในการตรากฎหมาย”, 2564, น. 37
            28    OECD, Better Regulation Practices across the European Union (OECD Publishing

            2019) 70. อ้างถึงใน ส�านักนวัตกรรมเพื่อประชาธิปไตย สถาบันพระปกเกล้า, เรื่อง “แนวทาง
            และวิธีการวิเคราะห์ผลกระทบทางสังคมในการตรากฎหมาย”, 2564, น. 37
            29    OECD, ‘Recommendation’ (n 12). อ้างถึงใน ส�านักนวัตกรรมเพื่อประชาธิปไตย สถาบัน

            พระปกเกล้า, เรื่อง “แนวทางและวิธีการวิเคราะห์ผลกระทบทางสังคมในการตรากฎหมาย”,
            2564, น. 37
            30    Commission of European Communities (n 13) 3. อ้างถึงใน ส�านักนวัตกรรมเพื่อ

            ประชาธิปไตย สถาบันพระปกเกล้า, เรื่อง “แนวทางและวิธีการวิเคราะห์ผลกระทบทางสังคม
            ในการตรากฎหมาย”, 2564, น. 37
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96