Page 88 - kpiebook67026
P. 88

87



               คลาดเคลื่อนจากกันหรือไม่ เพื่อให้เกิดความชัดเจนในประเด็นนี้ การศึกษาประสบการณ
               จากต่างประเทศจะพิจารณาบรรดาแนวคิดของกลไกทั้ง 3 ชื่อนี้ไปในความหมายเดียวกัน

               ว่าหมายถึงการท�า RIA ไม่ว่าจะมีการเรียกชื่อใดตราบเท่าที่เป็นการประเมินผลกระทบ
               ที่จะเกิดขึ้นก่อนการใช้นโยบายหรือการตรากฎหมาย


                      โดยนัยข้างต้น RIA ที่ก�าลังจะกล่าวถึงในบทนี้จึงหมายความในภาพรวมได้ว่า
               หมายถึง กระบวนการระบุ (identify) และประเมิน (assess) ผลกระทบของจาก

                                                   19
               ข้อเสนอทางนโยบาย (policy proposal)  โดยเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจว่าจะมี
                                            20
               การก�าหนดมาตรการควบคุมหรือไม่  โดย RIA เป็นการวิเคราะหต้นทุน (cost) และ
               ผลประโยชน (benefit) อย่างเป็นระบบ โดยมีขึ้นเพื่อช่วยในกระบวนการตัดสินใจ
               เพื่อหาทางเลือกว่าจะใช้กลไกการควบคุม (การใช้กฎระเบียบ) หรือไม่ และเพื่อสร้าง

               หลักประกันว่ามาตรการควบคุมทางกฎหมายที่ก�าหนดขึ้นจะก่อให้เกิดประโยชน
                   21
               สูงสุด  นอกจากนี้ในบางแหล่งได้อธิบายว่า RIA ได้แก่เครื่องมือซึ่งใช้ปรับปรุงคุณภาพ
               และความต่อเนื่องของกลไกการพัฒนานโยบาย มีการก�าหนดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
               ทั้งด้านบวกและด้านลบจากการด�าเนินการทางนโยบายบางเรื่อง เพื่อช่วยให้มีข้อมูล

               ส�าหรับการตัดสินใจว่าจะมีการด�าเนินนโยบายนั้นหรือไม่โดยมีการระบุสิ่งที่อาจจะ
               ได้รับและสิ่งที่อาจจะต้องจ่ายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงคในเรื่องนั้น ๆ 22


                      ในแง่ลักษณะของ RIA อาจจ�าแนกลักษณะของ RIA ออกได้เป็น 3 ประการ
               ประการแรก RIA ใช้กับการวิเคราะหข้อเสนอในเชิงนโยบาย (policy proposal)


               19    OECD, OECD Reviews of Regulatory Reform Regulatory Impact Analysis: A Tool
               for Policy Coherence (OECD 2009) 24. อ้างถึงใน ส�านักนวัตกรรมเพื่อประชาธิปไตย สถาบัน
               พระปกเกล้า, เรื่อง “แนวทางและวิธีการวิเคราะหผลกระทบทางสังคมในการตรากฎหมาย”, 2564,
               น. 35
               20    OECD, “Recommendation of the Council on Regulatory Policy and Governance”
               (OECD 2012) 25. อ้างถึงใน ส�านักนวัตกรรมเพื่อประชาธิปไตย สถาบันพระปกเกล้า, เรื่อง “แนวทาง
               และวิธีการวิเคราะหผลกระทบทางสังคมในการตรากฎหมาย”, 2564, น. 35
               21    Commission of the European Communities, ‘Communication from the
               Commission on Impact Assessment’ (Commission of the European Communities,
               COM (2002) 276 final, 2002) 3. อ้างถึงใน ส�านักนวัตกรรมเพื่อประชาธิปไตย สถาบันพระปกเกล้า,
               เรื่อง “แนวทางและวิธีการวิเคราะห์ผลกระทบทางสังคมในการตรากฎหมาย”, 2564, น. 35
               22    ibid.
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93