Page 72 - kpiebook66004
P. 72
72
ดังนั�น ประชาธิ์ิปไตยที�เหมาะสมในสายตาของมูฟ จึงต้องเป็นประชาธิ์ิปไตยที�โอบัรับัความเป็นการเมืองในฐานะหัวใจ
ที�จะช่วยให้ระบัอบัประชาธิ์ิปไตยสามารถยอมรับัความเป็นปรปักษ์ของพิวกขวาจัดคลั�งชาติ (และกลุ่มปรปักษ์อื�น ๆ)
211
ให้เข้ามาดำรงอยู่ร่วมเป็นส่วนหนึ�งของตัวระบัอบัได้ ด้วยเหตุนี� นอกจากเงื�อนไขพิื�นฐานของระบัอบัประชาธิ์ิปไตย
อย่างหลักการเรื�องอำนาจอธิ์ิปไตยของประชาชนหรือการให้ความสำคัญกับัการเลือกผู้แทนผ่านกลไกการเลือกตั�งแล้ว
ประชาธิ์ิปไตยที�มูฟนำเสนอยังต้องเพิิ�มกลไกทาง สถาบัันให้ทุกภาคส่วนของสังคม (โดยเฉพิาะฝ่่ายที�ไม่พิอใจกับั
ระบัอบัประชาธิ์ิปไตยเอง) สามารถส่งตัวแทนเข้ามาช่วงชิงอำนาจและความนิยมตามวาระได้เสมอเพิื�อกำหนด
ทิศูทางของสังคมการเมืองภายใต้หลักประกันว่าทุกฝ่่ายจะต้องเคารพิหลักการขั�นพิื�นฐานของระบัอบัประชาธิ์ิปไตย
อย่างหลักเสรีภาพิและความเท่าเทียมของประชาชน 212
ในแง่นี� ประชาธิ์ิปไตยตามแนวทางทฤษฎีการเมืองของลาคลาวและมูฟ จึงเป็นประชาธิ์ิปไตยแบับั คู่ปรับั
(agonistic democracy) ซึ�งจะไม่ใช่ประชาธิ์ิปไตยที�วางอยู่บันการใช้เหตุผลถกเถียงของปัจเจกเพิื�อบัรรลุฉันทามติ
แต่คือประชาธิ์ิปไตยที�อนุญาตให้ความเป็นปรปักษ์ระหว่างกลุ่มต่าง ๆ สามารถแสดงตัวออกมาได้ด้วยการเปลี�ยนสภาพิ
ให้คู่ปรปักษ์ดังกล่าวกลายเป็น “คู่แข่ง” (adversary) ภายในการช่วงชิงอำนาจที�แม้อาจต้องห�ำหั�นอย่างดุเดือดแต่ก็
จะไม่ทำลายล้างอีกฝ่่ายให้สิ�นซาก ด้วยถือว่าทุกกลุ่มต่างก็เป็นพิลเมืองที�ภักดี กับัค่านิยมประชาธิ์ิปไตยอย่าง
เสรีภาพิและความเท่าเทียมกันทั�งสิ�น กล่าวอย่างถึงที�สุด ถ้าหน้าตาของประชาธิ์ิปไตยตามแบับัที�ลาคลาวและมูฟ
213
นำเสนอคือ ประชาธิ์ิปไตยที�ผนวกเอาความเป็นการเมืองเข้ามาเป็นแกนหลัก ประชาธิ์ิปไตยดังกล่าวก็จะต้องเป็น
ประชาธิ์ิปไตยแห่งการถ่วงสมดุลที�ด้านหนึ�งจะขับัเน้นความ ขัดแย้งของคู่แข่งกลุ่มต่าง ๆ ขณีะเดียวกันก็ผสาน
ความขัดแย้งเหล่านั�นไว้ภายใต้ค่านิยมร่วมอย่างเสรีภาพิและความเท่าเทียมอันเป็นค่านิยมหลักของการปกครอง
ในระบัอบัประชาธิ์ิปไตย 214
แน่นอน ข้อเสนอที�มุ่งออกแบับัโครงสร้างประชาธิ์ิปไตยให้สามารถรองรับัความเป็นปรปักษ์แบั่งฝ่ักแบั่งฝ่่าย
ต่อกันในสังคมการเมืองนี� ย่อมเป็นข้อเสนอที�ถูกตั�งข้อกังขาถึงความเป็นไปได้ในทางปฏิิบััติ ทั�งนี� ในงานเขียนของเดวิด
มาติยาเซอร์วิช (David Matijaservich) นักรัฐศูาสตร์ชาวแคนาดาได้ชี�ให้เห็นถึงข้อจำกัดของการประยุกต์ใช้
ประชาธิ์ิปไตยแบับัคู่ปรับัในสังคมการเมืองจริง ๆ โดยเฉพิาะกับัสังคมการเมืองที�หนึ�งในคุณีค่าสำคัญของระบัอบั
ประชาธิ์ิปไตยอย่างความเท่าเทียมยังมิได้รับัการยึดถืออย่างหนักแน่น โดยหนึ�งในกรณีีสำคัญที�มาติยาเซอร์วิช
215
ใช้เป็นตัวอย่างบัอกเล่าประเด็นนี�ก็คือกรณีีความขัดแย้งทางการเมืองในสังคมไทย ระหว่างกลุ่มเสื�อเหลืองและ
เสื�อแดงที�ความสัมพิันธิ์์แบับัคู่แข่งไม่สามารถเป็นไปได้เนื�องจากความสัมพิันธิ์์ทางอำนาจอันไม่เท่าเทียมกันย่อม
ทำให้ข้อเรียกร้องของฝ่ั�งที�มีอำนาจน้อยกว่าจะถูกพิิจารณีาว่าเป็นปรปักษ์ ต้องถูกกดทับั ขจัดและปราบัปรามให้สิ�นซาก
ไม่ว่าจะในกรณีีการล้อมปราบัมวลชนเสื�อแดงในปี พิ.ศู.2553 ที�มี ผู้เสียชีวิตกว่าเก้าสิบัศูพิ หรือการเดินขบัวน
ต่อต้านรัฐบัาลของนางสาวยิ�งลักษณี์ ชินวัตรซึ�งนำมาสู่การ รัฐประหารในปี พิ.ศู. 2557 216
นั�นจึงไม่ใช่เรื�องแปลกที�แม้จะใช้ทฤษฎีซ้ายประชานิยมของลาคลาวและมูฟมาเป็นตัวแบับันำทาง แต่ประชาธิ์ิปไตย
ที�พิรรคอนาคตใหม่มุ่งลงหลักปักฐานในสังคมไทย จะไม่ได้เป็นประชาธิ์ิปไตยที�มีหน้าตาก้าวหน้าแบับัประชาธิ์ิปไตยคู่ปรับั
211 Ibid, pp. 8-34.
212 Mouffe, “For an Agonistic Model of democracy “, pp 202-205.
213 Ibid, pp. 203-204.
214 Ibid.
215 David Matijaservich, Radical Democracy and Its Limits (Cham: Palgrave Macmillan, 2019), pp. 246-247.
216 Ibid, pp. 247-249.