Page 68 - kpiebook66004
P. 68
68
คู่ขัดแย้งอันเป็นด้านตรงข้ามให้ชัดเจนมากเท่าใด ความเหมือนซึ�งเป็นผลจากการเชื�อมต่อผ่านห่วงโซ่ที�เชื�อมโยง
ทุกคนบันอัตลักษณี์ร่วมก็จะยิ�งชัดเจนมากขึ�นเท่านั�น ดังที�ลาคลาวและมูฟได้ชี�ให้เห็นว่า หัวใจสำคัญของการสร้าง
ห่วงโซ่ที�ร้อยรัดเชื�อมโยงผู้คนเข้ากับัจุดยึดทางอัตลักษณี์นั�นจะวางอยู่บันการขับัเน้นคู่ปรปักษ์ของจุดยึดทางอัตลักษณี์
ดังกล่าวให้เด่นชัด ในฐานะอุปสรรคที�ขวางกั�นความสมบัูรณี์แบับัของอัตลักษณี์ จนทำให้ผู้ที�รับัอัตลักษณี์ดังกล่าว
เกิดความตระหนักถึงอัตลักษณี์ที�ไม่สมบัูรณี์ของตน อันจะนำไปสู่ความปรารถนาที�จะเติมเต็มความไม่สมบัูรณี์นี�
ด้วยการแสดงออกต่าง ๆ ที�มีนัยย้อนกลับัมาตอกย�ำและยืนยันอัตลักษณี์ทางการเมืองที�ตนเลือก
นั�นจึงไม่แปลกที�พิร้อม ๆ ไปกับัการกล่าวถึงความเท่าเทียมในฐานะหลักการที�เชื�อมร้อยผู้คนจนก่อเกิด
เป็นประชาชน การกล่าวย�ำถึงอุปสรรคที�ปิดสกัดกั�นความเท่าเทียมอย่าง “ความเหลื�อมล�ำ” ก็จะเป็นแกนหลักสำคัญ
ที�พิรรคอนาคตใหม่จำเป็นต้องกระทำเพิื�อตอกย�ำให้ปรปักษ์ของประชาชน (ตามแบับัที�ตนเองกำลังก่อร่างขึ�นมา)
เกิดความเด่นชัด อันจะส่งผลสะท้อนย้อนกลับัมาสร้างความเด่นชัดให้กับั “ประชาชน” ในแบับัที� ตนเองต้องการ
ตามไปด้วย ดังคำสัมภาษณี์ของปิยบัุตรที�ได้กล่าวว่า:
“ไม่ว่าคุณีจะเป็นเหลืองหรือแดง คุณีต่างเป็นเหยื�อ เป็นผู้ประสบัภัยของปัญหาความเหลื�อมล�ำของ
ประเทศูนี�ทั�งนั�น ไม่ว่าใครก็คงไม่ ต้องการเห็นสังคมไทยเผชิญปัญหาคามเหลื�อมล�ำที�ถ่างกว้างขึ�นมากกว่านี�
กลุ่มที�ถูกมองว่าเป็นเหลือง คือคนเมืองหรือคนชั�นกลาง ก็ เป็นได้แค่มนุษย์ออฟฟิศูไปเรื�อย ๆ หลายคน
ไม่มีวันที�จะขยับัชนชั�นขึ�นได้เหมือนกัน ส่วนคนชนบัทที�มักถูกมองเป็นแดง ก็ไม่มีวันที�จะหลุด พิ้นจากกับัดัก
ความยากจนชุดเดิม ๆ ได้แน่นอน จะเห็นว่าปัญหาความเหลื�อมล�ำเป็นโจทย์ร่วมกันของทุกฝ่่าย...” 203
จากคำสัมภาษณี์ดังกล่าว จะเห็นได้ชัดว่าเพิื�อเชื�อมร้อยผู้คนให้เป็นประชาชนผ่านหลักการเรื�องความเท่าเทียม
สิ�งที�พิรรคอนาคตใหม่ไม่สามารถหลีกเลี�ยงไปได้ก็คือการขีดเส้นแบั่งแยกและนิยามประชาชนเสียใหม่ ด้วยการกำหนด
ว่าปรปักษ์ของประชาชนคือความเหลื�อมล�ำ ในฐานะอุปสรรคร่วมที�คอยขวางกั�นความปรารถนาของทุกคน (ไม่ว่าจะ
เคยมีอัตลักษณี์ทางการเมืองแบับัเสื�อเหลืองหรือเสื�อแดง) ให้ไม่สามารถบัรรลุเป้าหมายตามที�ต้องการ เพิราะฉะนั�น
หากใครก็ตามเป็นผู้ที�ได้รับัประโยชน์บันความเหลื�อมล�ำ หรือสถาปนาอำนาจของตนผ่านการเอารัดเอาเปรียบั
บัุคคลอื�น ๆ ก็จะถูกถือว่าเป็นเป็นปรปักษ์หรือส่วนหนึ�งของอุปสรรคขวางกั�นความปรารถนาถึงชีวิตที�ดีของทุกคน
ตามไปด้วย
แน่นอน ด้วยเหตุที�การขับัเน้นคู่ตรงข้ามในฐานะปรปักษ์ของประชาชน เป็นส่วนหนึ�งในยุทธิ์ศูาสตร์ก่อร่าง
สร้างประชาชนของพิรรค จึงเป็นเรื�องเข้าใจได้หากพิรรคอนาคตใหม่อาจถูกพิิจารณีาว่าเป็นกลุ่มที�สร้างความแตกแยก
ในสังคม ไม่ต่างไปจากสองขั�วการเมืองเดิมที�สร้างความขัดแย้งให้กับัสังคมการเมืองไทยก่อนหน้านี� กระนั�น เมื�อพิิจารณีา
ไปที�ทฤษฎีของลาคลาวและมูฟที�ให้ความสำคัญกับัคู่ตรงข้ามในฐานะจุดอ้างอิงที�ช่วยให้ แต่ละฝ่่ายสามารถผลิต
และยืนยันอัตลักษณี์ผ่านการปฏิิเสธิ์สิ�งที�อยู่ตรงกันข้ามกับัตน การตอกย�ำถึงการดำรงอยู่ของปรปักษ์ว่าเป็นส่วนหนึ�ง
ในการก่อร่างสร้างประชาชนก็ย่อมเป็นแนวทางที�จำเป็นภายใต้เป้าหมายสำคัญ คือการขับัเน้นห่วงโซ่ที�เชื�อมต่อ
ฝ่่ายต่าง ๆ จนมีอัตลักษณี์ร่วมทางการเมืองที�เหมือนกัน อย่างไรก็ตาม แม้ยุทธิ์ศูาสตร์การก่อร่างสร้างประชาชน
ของพิรรคอนาคตใหม่อาจดูเหมือนยุทธิ์ศูาสตร์ที�ขับัเน้นความแตกแยก บันการนิยามขอบัเขตอัตลักษณี์ว่าใครคือ
ประชาชนและใครคือปรปักษ์ของประชาชน แต่เส้นแบั่งที�พิรรคอนาคตใหม่ใช้เพิื�อกำหนดขอบัเขตอัตลักษณี์
203 ปิยบัุตร, “หนึ�งปีอนาคตใหม่: จากกรัมชี�—ลาคลาว—มูฟ—ถึงปฏิิบััติการท้านรกของปิยบัุตร แสงกนกกุล”,