Page 73 - kpiebook66004
P. 73
73
เพิราะถึงที�สุดแล้ว เงื�อนไขพิื�นฐานที�สร้างความเป็นไปได้ในการจัดตั�งประชาธิ์ิปไตย แบับัคู่ปรับัอย่างความเท่าเทียมนั�น
ก็ยังดูห่างไกลจากการเป็นค่านิยมทางการเมืองหลักของสังคมไทย นี�จึงอาจเป็นเหตุผลที�ช่วยอธิ์ิบัายว่าเหตุใด
ประชาธิ์ิปไตยที�พิรรคอนาคตใหม่มุ่งนำเสนอจะเป็นแค่ “ประชาธิ์ิปไตยขั�น ต�ำ” ซึ�งไม่ได้มีองค์ประกอบัที�ก้าวหน้ามากมาย
อะไรนัก เพิราะสำหรับัสังคมไทยแล้ว สิ�งที�สำคัญยิ�งกว่าความก้าวหน้าข้างต้น คือการยืนยันถึงความเท่าเทียมกัน
ของประชาชนในฐานะหลักการขั�นพิื�นฐานของระบัอบัประชาธิ์ิปไตยที�ผู้เป็นเจ้าของอำนาจปกครองสูงสุดจะไม่ใช่ใครอื�น
นอกจากประชาชน
ทั�งนี� หนึ�งในตัวอย่างที�สะท้อนความแตกต่างระหว่างทฤษฎีกับัการประยุกต์ในกรณีีข้างต้นได้ชัดเจนที�สุด
ก็คือการนิยามถึงสิ�งที�เรียกว่าความเป็นการเมือง และความสอดคล้องระหว่างความเป็นการเมืองกับัตัวแบับั
ประชาธิ์ิปไตยที�เหมาะสม กล่าวคือ ในขณีะที�ลาคลาวและมูฟจะพิิจารณีาความเป็นการเมืองว่าเกี�ยวข้องกับัการ
สร้างอัตลักษณี์ทางการเมืองผ่านการดำรงอยู่ของปรปักษ์ร่วมพิรรคอนาคตใหม่กลับัมีแนวโน้มที�จะ พิิจารณีาความ
เป็นการเมืองว่าเป็นเรื�องของความสัมพิันธิ์์ทางอำนาจและการตัดสินใจเชิงนโยบัายซึ�งพิัวพิันกับัชีวิตความเป็นอยู่
ของประชาชนในทุก ๆ มิติ ดังที�ปิยบัุตรได้กล่าวเอาไว้ว่า
“ที�ผ่านมาความเป็นการเมืองถูกถอดออกไปจากสังคม (depoliticization) การเมืองถูกทำให้เป็น
เรื�องสกปรก น่ารังเกียจ เป็นเรื�องของความขัดแย้งรุนแรง การเมืองเป็นเรื�องน่าเบัื�อ การดีเบัตถกเถียงใน
ประเด็นสาธิ์ารณีะไม่หลงเหลืออีกเลย มีแต่เรื�องที�ผู้มีอำนาจข้าราชการ เทคโนแครตจัดมาให้แล้ว
นั�นหมายความว่าประชาชนหายไปจากการเมืองโดยสิ�นเชิง เราต้องฟ้�นประชาชนให้กลายเป็นองค์ประธิ์าน
ทางการเมืองขึ�นมาให้ได้ ให้ประชาชนกลับัมาคิดว่าการเมืองอยู่ในชีวิตประจำวันของเขา จึงต้องเข้ามามี
ส่วนร่วมทางการเมืองให้มาก” 217
ในแง่นี� จุดเน้นถึงประชาธิ์ิปไตยตามแบับัที�พิรรคอนาคตใหม่เสนอ จึงย่อมไม่ใช่การถ่วงดุลความขัดแย้ง
ด้วยการแปลงปรปักษ์ให้กลายเป็นคู่แข่งดังที�มูฟเสนอ แต่คือการส่งเสริมการเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองของ
ประชาชน ผ่านการเปิดพิื�นที�ให้มีการถกเถียงถึงประเด็นสาธิ์ารณีะต่าง ๆ โดยไม่ถูกผูกขาดอยู่ในกลุ่มของข้าราชการ
และผู้เชี�ยวชาญไม่กี�คน
นั�นจึงไม่แปลกที�เมื�อพิิจารณีาจากแง่มุมดังที�ว่านี�แล้ว ประชาธิ์ิปไตยตามที�พิรรคอนาคตใหม่เน้นย�ำจะมี
ลักษณีะเอนเอียงไปตามวิธิ์ีคิดแบับัเสรีนิยมซึ�งเป็นวิธิ์ีคิดที�มูฟวิพิากษ์วิจารณี์ เพิราะด้วยนิยามความเป็นการเมือง
ของปิยบัุตรข้างต้น จะเห็นได้ว่าหัวใจสำคัญของประชาธิ์ิปไตยนั�นหาใช่การแปลงปรปักษ์ให้กลายเป็นคู่แข่งมาก
เท่ากับัการเปิดพิื�นที�ให้พิลเมืองหรือประชาชนสามารถใช้เหตุผลถกเถียงถึงประเด็นสาธิ์ารณีะต่าง ๆ อย่างเท่าเทียม
นี�จึงอาจไม่ได้เกินเลยไปนักหากจะกล่าวว่าในขณีะที�ข้อเสนอถึงตัวแบับัประชาธิ์ิปไตยของมูฟจะเป็นข้อเสนอที�
ก้าวหน้าท้าทายวิธิ์ีคิดแบับัเสรีนิยมภายใต้บัริบัทของสังคมการเมืองตะวันตกที�ระบัอบัประชาธิ์ิปไตยตั�งมั�นเป็น
ค่านิยมหลัก การนำเสนอประชาธิ์ิปไตยของพิรรคอนาคตใหม่กลับัมีลักษณีะแบับัเสรีนิยมเพิื�อยืนยันหลักพิื�นฐาน
“ขั�นต�ำ” ของระบัอบัประชาธิ์ิปไตยเสียมากกว่า ทั�งการให้น�ำหนักไปกับัการเปิดพิื�นที�ทางการเมืองให้ประชาชน
ใช้เหตุผลถกเถียงพิูดคุยถึงประเด็นสาธิ์ารณีะต่าง ๆ หรือการยืนยันถึงหลักนิติรัฐซึ�งจะช่วยประกันอำนาจซึ�งจะ
ช่วยประกันอำนาจและความเท่าเทียมทางการเมืองของประชาชนโดยไม่มีใครเป็นข้อยกเว้นตลอดไป จนถึง
217 ปิยบัุตร, “หนึ�งปีอนาคตใหม่: จากกรัมชี�—ลาคลาว—มูฟ—ถึงปฏิิบััติการท้านรกของปิยบัุตร แสงกนกกุล”,