Page 77 - kpiebook66004
P. 77
77
เพิื�อเข้าไปเปลี�ยนแปลงแนวทางการจัดการทางเศูรษฐกิจดังกล่าว พิร้อมๆกับัปฏิิรูปสังคมตามแนวทางแบับั
ฝ่่ายซ้ายร่วมสมัยซึ�งมีเป้าหมายสำคัญคือการสร้างสังคมที�เปี�ยมไปด้วยความเสมอภาคเท่าเทียม (egalitarianism)
อย่างสมบัูรณี์ อย่างไรก็ตาม แม้อาจประสบัผลสำเร็จในการก่อร่างสร้างประชาชนใหม่ตามแนวทางของแบับัฝ่่ายซ้าย
แต่ก็ควรต้องกล่าวในที�นี�ถึงความล้มเหลวในเวลาต่อมาของพิรรคอย่างโปเดมอส ที�ไม่สามารถรักษาจังหวะการนำ
เอาไว้ได้ ด้วยปัญหาความไม่เป็นประชาธิ์ิปไตยภายในพิรรคที�ทำให้ห่วงโซ่แห่งความเชื�อมโยงเท่าเทียมที�พิรรค
สร้างขึ�นสำหรับัการสร้างประชาชน ต้องแตกหักออกไป จนส่งผลต่อความ น่าเชื�อถือและทำให้แกนนำผู้ก่อตั�ง
พิรรคทยอยลาออกไปในท้ายที�สุด
เฉกเช่นเดียวกับัพิรรคซิริซ่า ที�ถึงแม้จะประสบัความสำเร็จผ่านการรณีรงค์ต่อต้านนโยบัายรัฐเข็มขัด
ทางเศูรษฐกิจ แต่เมื�อเข้าสู่อำนาจรัฐ ทางพิรรคกลับัไม่สามารถแก้ไขนโยบัายรัดเข็มขัดดังกล่าวได้ ซ�ำร้ายยังได้
ลงนามข้อตกลงถึงแนวทางจัดการเศูรษฐกิจแบับัเสรีนิยมใหม่ตามที�สหภาพิยุโรปเรียกร้อง ทำให้แม้ทางพิรรคอาจ
ยังคงความนิยมในหมู่ประชาชน แต่การดำรงอยู่ในอำนาจของพิรรคเองนั�นก็ดูเหมือนจะเป็นการดำรงอยู่ที�สูญเปล่า
เนื�องจากการถืออำนาจรัฐของซิริซ่านั�นมีข้อจำกัด ซึ�งไม่สามารถทำให้เกิดการเปลี�ยนแปลงทางเศูรษฐกิจอย่าง
ถึงรากได้ ไม่ว่าทั�งจากปัจจัยภายในและภายนอก จนต้องพิ่ายแพิ้ต่อพิรรคฝ่่ายขวากลางอย่าง พิรรค ND ในปี
2019 ในที�สุด เป็นตัวอย่างได้ดีว่าแม้จะได้เข้าสู่อำนาจเป็นผู้นำฝ่่ายบัริหารในรัฐบัาล แต่ความล้มเหลวในการขับัเคลื�อน
นโยบัายให้เป็นไปตามที�หาเสียงเอาไว้ก็อาจทำให้ทางพิรรคเสื�อมความนิยมลงได้ เช่นกัน
สำหรับัในกรณีีของประเทศูไทยนั�นจะมีความแตกต่างจากสองกรณีีแรกอย่างชัดเจน เนื�องจากแรงขับัสำคัญ
ในทางการเมืองนั�น มิได้มาจากปัญหาทางเศูรษฐกิจ แต่เป็นปัญหาทางการเมืองโดเฉพิาะความไม่พิอใจ ของผู้คน
ที�มีต่อการรัฐประหาร ดังการเกิดขึ�นของพิรรคอนาคตใหม่ซึ�งถือกำเนิดภายหลังจากการรัฐประหารใน ปี ค.ศู. 2014
(พิ.ศู.2557) โดยมีเป้าหมายสำคัญคือขจัดต้นตอของการรัฐประหารอย่างการแก้ไขปัญหาความ แตกแยกอันเกิด
มาจากการแบั่งขั�วทางการเมือง เป้าหมายสำ คัญของพิรรคอนาคตใหม่จึงมิใช่การจัดการ แก้ปัญหาอันเกิดมาจาก
นโยบัายทางเศูรษฐกิจที�เคร่งครัดอย่างที�เกิดขึ�นในสเปนและกรีซแต่คือการสลายหรือ ก้าวข้ามความแตกแยก
ทางการเมืองเดิมด้วยการเสนอวาระทางการแบับัฝ่่ายซ้ายอย่างการต่อสู้กับัอภิสิทธิ์์ชนที� อยู่เบัื�องหลังการรัฐประหาร
และสร้างประชาชนใหม่ที�หัวใจสำคัญจะมิได้อยู่ที�การเป็นผู้จงรักภักดีต่อสถาบัันการเมืองสูงสุด แต่คือการเชื�อมั�น
ในความเสมอภาคเท่าเทียมในเหล่าประชาชนด้วยกัน อย่างไรก็ตามแม้อาจได้รับัคะแนนเสียงจากการเลือกตั�งทั�วไป
อย่างเกินความคาดหมาย ทั�งยังมีส่วนในการผลักดันประเด็นการปฏิิรูป ประเทศูถึงรากถึงโคน แต่การที�พิรรคอนาคตใหม่
ถูกยุบัด้วยคำสั�งจากศูาลรัฐธิ์รรมนูญ ก็คงทำให้เป็นการยากที�จะกล่าวว่าการเคลื�อนไหวแบับัซ้ายประชานิยมใน
เมืองไทยประสบัความสำเร็จอย่างสวยงาม โดยเฉพิาะเมื�อพิิจารณีาถึงแนวโน้มอันไม่แน่ไม่นอนที�พิรรคก้าวไกล
(ซึ�งเป็นพิรรคที�สานต่ออุดมการณี์ของพิรรคอนาคตใหม่) จะต้องเผชิญหน้ากับัการเลือกตั�งทั�วไปครั�งหน้า
อย่างไรก็ตาม แม้การเคลื�อนไหวผ่าน อุดมการณี์/ทฤษฎี/ยุทธิ์ศูาสตร์ ประชานิยมฝ่่ายซ้าย อาจไม่สำเร็จ
ไม่ว่าจะด้วยการไม่ได้ขึ�นสู่การมีอำนาจรัฐ หรือการที�ได้เข้าสู่อำนาจรัฐแล้วแต่ไม่สามารถขับัเคลื�อนนโยบัายและ
การเปลี�ยนแปลงได้ อาจเป็นที�สรุปได้ว่าการชนะเลือกตั�งและถืออำนาจรัฐนั�นอาจไม่ใช่ตัวชี�วัดความสำเร็จของ
ประชานิยมฝ่่ายซ้าย เนื�องจากข้อจำกัดของความความเป็นรัฐ หากแต่ความสำเร็จอาจไม่ใช่สิ�งที�ทำได้ในระยะ
เวลาอันสั�น หรือเป็นความสำเร็จในระยะสั�น แต่เป็นความสำเร็จที�ได้ปลุกชีวิตของความเป็นการเมืองขึ�นอีกครั�ง
ในรัฐ โดยประชาชนนั�นเองที�มีบัทบัาทสำคัญในการทำให้การเมืองมีความเป็นการเมือง ความตื�นตัวทางการเมือง
ทำให้ประชาชนได้ตระหนักถึงปัญหาว่าการเมืองของตนเองคืออะไร และกระตุ้นให้ ประชาชนมีส่วนร่วม