Page 75 - kpiebook66004
P. 75

75



                    จริงอยู่ แม้อาจปฏิิเสธิ์ไม่ได้ว่าแม้คำตัดสินยุบัพิรรคอนาคตใหม่นี�มีความคล้ายคลึงกับักลวิธิ์ีที�ขั�ว การเมือง

            ฝ่่ายหนึ�งใช้เล่นงานขั�วการเมืองอีกฝ่่ายดังที�อาจเห็นได้จากกรณีีการยุบัพิรรคไทยรักไทย (พิ.ศู.2550) พิรรคพิลังประชาชน
            (พิ.ศู.2551) และพิรรคไทยรักษาชาติ (พิ.ศู.2562) แต่การยุบัพิรรคอนาคตใหม่นี�กลับันำมาซึ�งการโต้ตอบัที�สำคัญ

            อย่างความตื�นตัวทางการเมืองของนักศูึกษา เยาวชนและคนรุ่นใหม่เป็นจำนวนมาก ในแง่นี� การยุบัพิรรคอนาคตใหม่

            จึงกลับักลายเป็นจุดตั�งต้นให้กับัการปรากฏิตัวของ “อนาคต” ที�จะกลายเป็นกำลังหลักในการขับัเคลื�อนประชาธิ์ิปไตย
                       220
            ในสังคมไทย  แน่นอน แม้ความตื�นตัวของคนรุ่นใหม่ดังกล่าวอาจไม่สามารถใช้เป็นดัชนีชี�วัดความสำเร็จของ
            พิรรคอนาคตใหม่ในการลงหลักปักฐานให้ระบัอบัประชาธิ์ิปไตย สามารถดำรงอยู่ในสังคมไทยได้อย่างยั�งยืน เพิราะ
            ต้องไม่ลืมว่าหัวใจสำคัญในภารกิจทางการเมืองของพิรรคนั�นคือการก่อร่างสร้าง “ประชาชน” เพิื�อต่อสู้กับัชนชั�น

            อภิสิทธิ์ิ�ชนและเผด็จการหาใช่การสร้าง “คนรุ่นใหม่” ทางการเมืองเพิื�อต่อสู้และแทนที� “คนรุ่นเก่า” กระนั�น

            ดังที�ชัยธิ์วัช หนึ�งในผู้ก่อตั�งหลักของพิรรคอนาคตใหม่ได้ ให้ความเห็นแก่คณีะผู้วิจัยว่าแม้อาจดูขัดแย้งกับั
            เป้าหมายแรกเริ�มของพิรรคที�มุ่งสร้างประชาชน แต่ความตื�นตัวของเยาวชนคนรุ่นใหม่นี� ก็คือดัชนีที�แสดงให้

            เห็นถึงพิลวัตรทางการเมืองของสิ�งที�เรียกว่าประชาชนเอง ยิ�งเยาวชนมีความตื�นตัวทางการเมืองมากเท่าใด
            ประชาธิ์ิปไตยซึ�งยืนยันถึงฐานะความเป็นเจ้าของอำนาจปกครอง สูงสุดของประชาชนก็จะยิ�งตั�งมั�นมากเท่านั�น 221

                    ด้วยเหตุนี� เมื�อพิิจารณีาจากแง่มุมดังกล่าว พิรรคอนาคตใหม่ก็ดูเหมือนจะบัรรลุภารกิจทางการเมือง

            ของตนแล้ว นั�นก็คือการปักธิ์งประชาธิ์ิปไตยลงในสังคมไทยอย่างหนักแน่น มั�นคง ยิ�งไปกว่านั�น เมื�อพิิจารณีา
            ว่าส่วนหนึ�งในความสำเร็จของพิรรคอนาคตใหม่นี�มาจากการปรับัประยุกต์ใช้ทฤษฎีซึ�งถือกำเนิดภายใต้บัริบัท

            ทางการเมืองในประเทศูตะวันตกอย่างทฤษฎีซ้ายประชานิยมของลาคลาวและมูฟ ก็ยิ�งน่าทึ�งว่าเมื�อถูกนำมา

            ประยุกต์ใช้ในบัริบัทที�แตกต่างออกไปจากเดิมนั�น ทฤษฎีดังกล่าวจะมีชีวิตของตนเองที�แตกต่างไปจากที�มันเคยเป็น
            โดยเฉพิาะการก่อตัวของพิลังประชานิยมที�จะไม่ได้ท้าทายทุนนิยมหรือระเบัียบัทางการเมืองแบับัเสรีนิยมใหม่ แต่

            คือพิลังประชานิยมที�ต่อต้านอำนาจเผด็จการซึ�งดำรงเป็นส่วนหนึ�งในวัฒนธิ์รรมทางการเมืองของไทยตลอดมา

            ความสำเร็จของพิรรคอนาคตใหม่ดังที�นำเสนอในงานวิจัยบัทนี� จึงมิใช่แค่ความสำเร็จทางการเมืองภายใต้การ
            ประยุกต์ใช้ทฤษฎีจากสังคมการเมืองตะวันตก แต่คือความสำเร็จที�สามารถสร้าง “ชีวิตใหม่” ให้กับั ทฤษฎีที�ตน

            ใช้ความสำเร็จที�จะไม่ได้มาจากนักปรัชญาผู้เป็นต้นคิดทฤษฎีดังกล่าว แต่เป็นผลมาจากผู้ปฏิิบััติการที�ประยุกต์ใช้
            ทฤษฎีภายใต้บัริบัทอันแปลกใหม่ จนสามารถยกระดับัให้ทฤษฎีมีมิติอันลุ่มลึก รอบัด้านมากกว่าที�เคยเป็น


























            220  ดูประเด็นนี�เพิิ�มเติมได้ใน กนกรัตน์เลิศูชูสกุล, สูงครีาม (เย็น) ในรีะหว่างโบว์ขาว (กรุงเทพิฯ: มติชน, 2564)
            221  สัมภาษณี์ชัยธิ์วัช ตุลาธิ์ร, ผู้ร่วมก่อตั�งพิรรคอนาคตใหม่และเลขาธิ์ิการพิรรคก้าวไกล, ออนไลน์, 14 กรกฎาคม 2565
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80