Page 76 - kpiebook66004
P. 76

76



                   บัทที� 6





                   บัทสรุป บัทเรียน และอุนาคต์ขอุงการเมือุงขอุงฝ่่ายซ้้าย




                   จากการศูึกษาที�ผ่านมาดังที�ได้กล่าวไปในบัทที� 3 4 และ 5 คงไม่จำเป็นต้องกล่าวย�ำถึงความแตกต่างในการ
            ประยุกต์ใช้ทฤษฎีประชานิยมฝ่่ายซ้ายในประเทศูสเปน กรีซ และไทย ทั�งในมิติของวิธิ์ีการและเหตุผลสำหรับัการใช้

            กระนั�น แม้อาจแตกต่างกันในรายละเอียด แต่ก็จะเห็นได้ว่ากระแสของอุดมการณี์ประชานิยม ฝ่่ายซ้ายในทั�วโลกนี�

            ยังคงเป็นเป็นกระแสหลักในการตอบัโต้กับัการขยายตัวของอุดมการณี์เสรีนิยมใหม่ ซึ�งงานศูึกษาวิจัยชิ�นนี�ได้
            ชี�ให้เห็นถึงจุดร่วมสำคัญในการตอบัโต้ดังกล่าวอย่างการเกิดขึ�นของประชานิยมฝ่่ายซ้าย ซึ�งเป็นการแสวงหา

            พิลังทางการเมืองที�มุ่งขยายขอบัเขตการเคลื�อนไหวเปลี�ยนแปลงภายในระบัอบัประชาธิ์ิปไตย ที�จะไม่หยุดอยู่แค่

            กลไกเชิงสถาบัันอย่างการเลือกตั�ง แต่จะมุ่งผสานเครือข่ายระหว่างตัวแสดงในพิื�นที�ของสถาบัันการเมืองกับัการ
            เคลื�อนไหวภาคประชาชนภายนอกสถาบัันการเมือง

                     เป็นที�น่าสังเกตว่าจากทั�ง 3 กรณีีศูึกษาข้างต้น ในสองกรณีีแรก (คือ สเปนและกรีซ) จะเป็นประเทศู

            ที�แต่เดิมมิได้อยู่ภายใต้การปกครองแบับัเผด็จการอำนาจนิยม หากแต่เป็นประเทศูที�ปกครองไปตามลักษณีะของ
            ระบัอบัประชาธิ์ิปไตย ซึ�งมีรัฐธิ์รรมนูญ มีการเลือกตั�ง และมีการเปลี�ยนผ่านอำนาจตามกลไกทางกฎหมายโดย

            มิได้ยึดเอาความปรารถนาของผู้นำมาเป็นศููนย์กลางแต่เพิียงผู้เดียว ดังนั�น การเกิดขึ�นของปรากฎการณี์ประชานิยม
            ฝ่่ายซ้ายในทั�งสองประเทศู จึงเป็นภาพิสะท้อนความไม่พิึงพิอใจต่อระบัอบัประชาธิ์ิปไตยที�เป็นอยู่ โดยเฉพิาะกลไก

            และโครงสร้างต่างๆของระบัอบัที�ดูเหมือนจะไม่สามารถสนองตอบัความต้องการที�จะมีคุณีภาพิชีวิตที�ดี ตลอดจน

            ความยุติธิ์รรมของประชาชนทำให้ประชาธิ์ิปไตยในทั�งสองประเทศูนี�ถูกพิิจารณีาจากผู้คนภายในประเทศูตนเอง
            ว่ายังไม่ได้เป็นประชาธิ์ิปไตยที�สมบัูรณี์ที�หยั�งรากลึกในสังคม อันมีสาเหตุมาจากการที�ประชาชนยังไม่ได้เป็น

            เจ้าของอำนาจที�แท้จริง จนทำให้การตัดสินใจต่าง ๆ ไม่ได้สะท้อนเจตจำนงของประชาชนมากเท่ากับัความต้องการ

            ของอภิสิทธิ์ิ�ชน
                     ตัวอย่างที�ชัดเจนที�สุด ก็คือ ความเข้มงวดในการใช้นโยบัายรัดเข็มขัดทางเศูรษฐกิจภายหลังจากวิกฤตเศูรษฐกิจ

            ในปี ค.ศู. 2008 ซึ�งทำให้ประชาชนทั�งในสเปนและกรีซต้องตกงานและสูญเสียความมั�นคงในชีวิต ทั�งจากการที�
            ต้องจ่ายภาษีมากขึ�นและการตัดลดสวัสดิการทางสังคม เกิดการชุมนุมซึ�งเป็นผลมาจากความเหลื�อมล�ำ ความไม่เท่าเทียม

            จากอิทธิ์ิพิลของคำขวัญ 99% vs 1% จนกลายเป็นโอกาสให้กลุ่มการเมืองฝ่่ายก้าวหน้านำอุดมการณี์และทฤษฎี

            ประชานิยมฝ่่ายซ้ายมาใช้เป็นแกนในการเคลื�อนไหวและตั�งเป็นพิรรคการเมืองในที�สุด ในแง่นี� จุดตั�งต้นของกระแส
            ประชานิยมฝ่่ายซ้ายที�เกิดในประเทศูสเปนและประเทศูกรีซจึงมิใช่อะไรเลย นอกจากการนโยบัายทางเศูรษฐกิจ

            ของรัฐบัาลที�มาจากการเลือกตั�ง การสร้างพิรรคการเมืองทางเลือกไม่ว่าจะเป็นพิรรคโปเดมอสในสเปน หรือพิรรคซิริซ่า

            ในกรีซ จึงกลายเป็นทางเลือกใหม่ภายใต้กระแสประชานิยมฝ่่ายซ้าย ที�หน้าที�หลักของพิรรคจะมิใช่อะไรเลย
            นอกจากการสร้างประชาชนและดำเนินนโยบัายตามความต้องการของประชาชนที�ถูกสร้างใหม่ดังกล่าว

                     กล่าวอีกนัยหนึ�งก็คือ เพิื�อโต้ตอบักับัการจัดการทางเศูรษฐกิจอย่างไม่ประนีประนอม พิรรคโปเดมอส

            และพิรรคซิริซ่าได้ใช้ยุทธิ์ศูาสตร์ประชานิยมฝ่่ายซ้าย ในการก่อร่างสร้างประชาชนผ่านการเชื�อมต่อความ ต้องการ
            ของกลุ่มต่างๆในสังคม ด้วยการผนวกและผสานการชุมนุมประท้วงบันท้องถนนเข้ากับักลไกการเลือกผู้แทนเข้าไปในสภา
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81