Page 71 - kpiebook66004
P. 71
71
การเคลื�อนฐานสำหรับัเปลี�ยนแปลงทางการเมืองจากชนชั�นกรรมาชีพิแบับัลัทธิ์ิมาร์กซ์ดั�งเดิมมาสู่การอ้างอิง
“ประชาชน” นั�น ย่อมหมายถึงการยอมรับัแบับัแผนการปกครองในระบัอบัประชาธิ์ิปไตยที�ยึดเอาอำนาจของประชาชน
เป็นอำนาจสูงสุดไปโดยปริยาย อย่างไรก็ตาม แม้อาจสนับัสนุนการปกครองในระบัอบัประชาธิ์ิปไตย แต่หน้าตา
ของประชาธิ์ิปไตยที�ลาคลาวและมูฟสนับัสนุนนั�น ก็กลับัมีลักษณีะเฉพิาะแตกต่างไปจากที�สังคมไทยส่วนใหญ่คุ้นเคย
ด้วยเหตุนี� เมื�อกลับัมาพิิจารณีาถึงการประยุกต์ใช้ทฤษฎีดังกล่าวในสังคมการ เมืองไทย โดยเฉพิาะหน้าตาของ
ประชาธิ์ิปไตยอันเป็นรูปธิ์รรมจากยุทธิ์ศูาสตร์การก่อร่างสร้างประชาชนของพิรรคอนาคตใหม่ ก็คงเดาได้ไม่ยาก
ถึงลักษณีะที�แตกต่างอันเป็นผลมาจากการปรับัใช้ทฤษฎีในบัริบัทซึ�งแปลกออกไปจากที�ตัวทฤษฎีถือกำเนิดขึ�นมา
แต่อะไรคือหน้าตาของตัวแบับัประชาธิ์ิปไตยที�ลาคลาวและ (โดยเฉพิาะ) มูฟเห็นว่าสอดคล้องไปกับัแนวทางของ
พิวกเขา? หน้าตาของประชาธิ์ิปไตยดังกล่าวแตกต่างอย่างไรกับัความ เข้าใจถึงประชาธิ์ิปไตยโดยทั�วไป?
ตรงกันข้ามกับัสังคมไทยที�วัฒนธิ์รรมประชาธิ์ิปไตยยังไม่ได้หยั�งรากอย่างมั�นคง สังคมตะวันตกอันเป็น
บัริบัทรายล้อมทฤษฎีซ้ายประชานิยมของลาคลาวและมูฟคือบัริบัทที�ประชาธิ์ิปไตยกลายเป็นส่วนหนึ�งในคุณีค่า
และจินตนาการทางการเมืองของผู้คน โดยเฉพิาะภายหลังจากการสิ�นสุดของสงครามเย็นที�ได้ตอกย�ำถึงฐานะ
ของประชาธิ์ิปไตยว่าคือระบัอบัการเมืองหนึ�งเดียวที�เหมาะสมกับัรูปแบับัการอยู่ร่วมกันของผู้คนในโลก ดังนั�น
การลงหลักปักฐานให้ประชาธิ์ิปไตยมีความมั�นคง จึงไม่เคยเป็นเป้าหมายของลาคลาวและมูฟ เพิราะคงเป็นเรื�องน่าขำ
ที�ทั�งคู่จะมีเป้าหมายในการลงหลักปักฐานให้ระบัอบัประชาธิ์ิปไตยมีความมั�นคง หากว่าสังคมและวัฒนธิ์รรมที�ทั�งคู่
ใช้ชีวิตทางการเมืองอยู่นั�นได้สถาปนาให้ประชาธิ์ิปไตยเป็นคุณีค่าหลักของสังคมอยู่แล้ว กระนั�น แม้ประชาธิ์ิปไตย
อาจลงหลักปักฐานอย่างสมบัูรณี์ในโลกตะวันตก แต่นั�นก็ไม่ได้หมายความว่าระบัอบั ดังกล่าวจะดำรงอยู่ได้โดย
ปราศูจากภัยคุกคาม ดังข้อสังเกตของมูฟซึ�งตระหนักได้ดีถึงการเติบัโตของกระแสขวาจัดชาตินิยมในโลกตะวันตก
หลาย ๆ ประเทศู จนนำไปสู่การสำรวจตรวจสอบัจุดอ่อนของระบัอบัประชาธิ์ิปไตยที�ก่อให้เกิดการขยายตัวของ
ฝ่่ายขวาที�อาจเป็นภัยต่อระบัอบัประชาธิ์ิปไตยเอง 208
ทั�งนี� ดังที�มูฟได้ชี�ให้เห็นว่า แม้อาจประสบัความสำเร็จในการเป็นค่านิยมหลักทางการเมืองของสังคม
การเมืองตะวันตก แต่ระบัอบัประชาธิ์ิปไตยก็ดูเหมือนจะโอบัรับัอิทธิ์ิพิลทางความคิดแบับัเสรีนิยมมากจนเกินไป
โดยเฉพิาะอิทธิ์ิพิลทางความคิดที�เชื�อมั�นในปัจเจกแต่ละบัุคคลว่าสามารถคลี�คลายความขัดแย้งระหว่างกันด้วยการ
ใช้เหตุผลถกเถียงเพิื�อบัรรลุฉันทามติต่าง ๆ จนเพิิกเฉยปัจจัยด้านอารมณี์ความรู้สึกที�มีต่อการรวมกลุ่มตลอดไปจนถึง
การดำรงอยู่ของปรปักษ์ร่วมในฐานะเงื�อนไขที�แปลงให้การรวมกลุ่มดังกล่าว กลายเป็นอัตลักษณี์ทางการเมือง
209
ในแง่นี� ปัญหาของระบัอบัประชาธิ์ิปไตยที�เปิดโอกาสให้กลุ่มก้อนทาง การเมืองที�ตั�งตนเป็นปรปักษ์กับัตน (เช่น
พิวกฝ่่ายขวาคลั�งชาติ) สามารถขยายตัวได้นั�นจึงเป็นผลมาจากวิธิ์ีคิด แบับัเสรีนิยม ซึ�งสำหรับัตัวมูฟแล้วเห็นว่า
คือวิธิ์ีคิดที�ปฏิิเสธิ์ความเป็นการเมือง (the political) หรือวิธิ์ีคิดที�ปฏิิเสธิ์การดำรงอยู่ของคู่ปรปักษ์ ทั�ง ๆ ที�การมีอยู่
ของคู่ปรปักษ์คือเงื�อนไขเบัื�องต้นที�ทำให้การสร้างอัตลักษณี์ ต่าง ๆ ในทางการเมืองเป็นไปได้ 210
นั�นจึงไม่แปลกที�หน้าตาของประชาธิ์ิปไตยแบับัที�มูฟ (และลาคลาว) มุ่งนำเสนอ จะไม่ใช่แค่ระบัอบัประชาธิ์ิปไตย
ตามหลักการที�ทุกคนคุ้นเคย เพิราะลำพิังแค่องค์ประกอบัตามที�กล่าวไปนั�นคงไม่เพิียงพิอที�จะช่วยแก้ปัญหาของ
ประชาธิ์ิปไตยที�ไม่สามารถรับัมือกับัการมีอยู่ของปฏิิปักษ์อย่างกลุ่มการเมืองขวาจัดคลั�งชาติตามที�กล่าวไปได้
208 Chantal Mouffe, “For an Agonistic Model of democracy “, Chantal Mouffe: Hegemony, Radical Democracy,
and the Political, James Martin (Edited) (Oxon: Routledge, 2013), p.191.
209 Ibid, pp.199-201
210 Chantal Mouffe, On the Political (London: Routledge, 2005), pp.10-14.