Page 69 - kpiebook66004
P. 69
69
ของความเป็นประชาชนดังกล่าว ก็กลับัมิใช่เส้นแบั่งแนวดิ�งที�ขั�วการเมืองตามคู่ขัดแย้งชุดเดิมใช้ (เช่นการแบั่งแยก
เป็นฝ่่ายเสื�อเหลืองและฝ่่ายเสื�อแดง) แต่จะเป็นเส้นแบั่งแนวนอนซึ�งตั�งอยู่บันความสัมพิันธิ์์ทางชนชั�นระหว่าง
ประชาชนซึ�งก็คือผู้คน 99 เปอร์เซ็นต์ของประเทศู กับัชนชั�นนำผู้เป็นเพิียงคนจำนวน 1 เปอร์เซ็นต์ของประเทศู
ดังที�ปิยบัุตรได้กล่าวเน้นเรื�องนี�เอาไว้อย่างชัดเจนว่า
“เราแบั่งครึ�งผ่ากลางประชาชนให้แยกเป็นสองสีแบับันี�ไม่ได้ ต้องตัดแบั่งตามแนวขวาง นิยามกันใหม่
ว่า “เรา” คือใคร “เขา” คือใคร ไม่ว่าชาวนา ชาวประมง คนชนบัท คนเมือง คนชั�นกลางระดับัล่าง คนชั�นกลาง
หรือแม้กระทั�งมนุษย์ออฟฟิศู ข้าราชการประจำ ครู นัก ธิ์ุรกิจ ผู้ประกอบัการ สตาร์ตอัป เอสเอ็มอี แรงงาน
ทุกคนมีปัญหาของตัวเองเต็มไปหมด และมีความแตกต่างหลากหลายอยู่ในนั�น มันต้องสร้างห่วงโซ่แห่งการ
เชื�อมโยงปัญหาของคนทุกกลุ่มให้มาเทียบัเท่ากันให้ได้ ชี�ให้เห็นถึงปัญหาเชิงโครงสร้างของประเทศูไทยแล้ว
หลอมรวมความต้องการของคนทั�งสังคมเหล่านี�มาชนกับัชนชั�นนำกลุ่มคน 1% ที�ดูดซับัเอาทรัพิยากร อำนาจ
และทุนของประเทศูไว้อยู่กระจุกเดียว ส่วนคนที�เหลือไม่ว่าคุณีจะชอบัสีไหน เชียร์พิรรคไหน ต่างก็ต้องลำบัาก
ด้วยกันหมดทั�งสิ�น ในขณีะที�คนชนชั�นนำ 1% นั�น ไม่ว่ารัฐบัาลจะมาจากการเลือกตั�งหรือกองทัพิ เขาก็อยู่ได้
เหมือนเดิมตลอด ไม่มีอะไรเปลี�ยนแปลง” 204
การก่อร่างสร้างประชาชนของพิรรคอนาคตใหม่ การก่อร่างที�มุ่งผสานเชื�อมโยงกลุ่มคนต่าง ๆ (ทั�งผู้ที�
สังกัดกลุ่มเสื�อเหลืองและผู้ที�สังกัดกลุ่มเสื�อแดง) ให้มีอัตลักษณี์ร่วมกันผ่านการสร้างปรปักษ์ร่วมของทุกฝ่่าย จึง
เป็นสิ�งที�แยกไม่ขาดไปจากการต่อต้านกลุ่มชนชั�นนำหรืออภิสิทธิ์ิ�ชนที�ตั�งตัวอยู่สูงกว่าบัุคคลทั�วไป ด้วยเหตุที�
กลุ่มคนเหล่านี�คือต้นตอแห่งความเหลื�อมล�ำที�คอยดูดกลืนทรัพิยากรต่าง ๆ ของประเทศูไปเป็นฐานสั�งสมความ มั�งคั�ง
และอำนาจที�เหนือกว่า ดังนั�น “ประชาชน”ที�พิรรคอนาคตใหม่สร้างและเสนอตัวเป็นภาพิตัวแทนให้ จึงเป็น
ประชาชนที�ต้องต่อต้านอภิสิทธิ์ิ�ชนเสมอ หรือก็คือเป็นประชาชนที�ตั�งคำถาม พิร้อมท้าชนกับัความบัิดเบัี�ยวของ
สังคมการเมืองที�เอื�อประโยชน์ให้กับัชนชั�นนำและอภิสิทธิ์ิ�ชนอย่างไม่ลดละ กล่าวอย่างถึงที�สุด การก่อร่างสร้าง
ประชาชนขึ�นมาใหม่ตามแนวทางของพิรรคอนาคตใหม่ (ซึ�งได้รับัแรงบัันดาลใจมาจากข้อเสนอทางทฤษฎี
ของลาคลาวและมูฟ) จะไม่ใช่อะไรเลยนอกจากการสลายความเป็นปรปักษ์ที�กำหนดเนื�อหาความขัดแย้งทาง
การเมืองของไทยแต่เดิมอย่างเสื�อเหลือง/เสื�อแดง ด้วยการผสานเชื�อมโยงทั�งสองขั�วการเมืองเข้าไว้ด้วยการภายใต้
คำว่า “ประชาชน” พิร้อม ๆ กับันิยามปรปักษ์ร่วมของทั�งสองฝ่่าย ว่าคือความเหลื�อมล�ำและชนชั�นนำ/อภิสิทธิ์ิ�
ชนผู้อยู่เบัื�องหลังความเหลื�อมล�ำดังกล่าว
จากตรงนี� จึงเป็นที�ชัดเจนว่าการนิยามปรปักษ์ของประชาชนว่าคือพิวกอภิสิทธิ์ิ�ชนหรือชนชั�นนำที�อยู่เบัื�องหลัง
ความเหลื�อมล�ำนั�น จะสอดคล้องเข้ากันพิอดีกับัวาระทางการเมืองของพิรรคอนาคตใหม่อย่างการต่อต้าน
รัฐประหารและเสริมสร้างการปกครองในระบัอบัประชาธิ์ิปไตยอย่างยั�งยืน เพิราะถ้าจุดยึดทางอัตลักษณี์ที�พิรรค
อนาคตใหม่ใช้เป็นแกนกลางทางยุทธิ์ศูาสตร์ของตนคือการสร้างประชาชนที�วางอยู่บันความสัมพิันธิ์์ที�เท่าเทียมกัน
การรัฐประหารโดยเหล่าอภิสิทธิ์ิ�ชนก็ย่อมจะเป็นสิ�งที�ไม่สามารถยอมรับัได้ ดังคำปราศูรัยของปิยบัุตรในงานแถลง
นโยบัายของพิรรคอนาคตใหม่เมื�อปี พิ.ศู.2561 ที�ว่า:
204 เพิิ�งอ้าง