Page 66 - kpiebook66004
P. 66

66



            ความต้องการขั�นพิื�นฐานที�ประชาชนทุกคนควรได้รับั เฉกเช่นเดียวกับัคำให้ สัมภาษณี์ในอีกวาระหนึ�งที�ตัวเขาได้เน้นย�ำว่า

            หัวใจสำคัญอันเป็นเข็มทิศูกำหนดแนวทางของพิรรคอนาคตใหม่ คือแนวคิดเรื�องประชานิยมของลาคลาวและมูฟ
            ซึ�งเป็นแนวคิดที�เชื�อในพิลังของประชาชน มีศููนย์กลางอยู่ในการ “คืนการเมืองให้ประชาชน” ผ่านการเปิดให้ประชาชน
            สามารถเข้ามามีส่วนร่วมถกเถียง แลกเปลี�ยน และกำหนดนโยบัายสาธิ์ารณีะต่าง ๆ ที�เกี�ยวข้องกับัชีวิตและ

            ความเป็นอยู่ของประชาชนเอง  200
                    แต่อะไรคือ “ประชาชน” ตามที�พิรรคอนาคตใหม่มุ่งนำเสนอเพิื�อเป็นภาพิตัวแทน? หน้าตาของ “ประชาชน”

            ดังกล่าวแตกต่างอย่างไรจากภาพิตัวแทนของประชาชนที�ถูกนำเสนอผ่านขั�วการเมืองสองฝ่่าย อย่างกลุ่มเสื�อเหลือง
            และกลุ่มเสื�อแดงดังที�อธิ์ิบัายไปในส่วนที�แล้ว? ถึงตรงนี� จึงเป็นที�ชัดเจนว่าการก่อร่างสร้าง “ประชาชน” ที�

            พิรรคอนาคตใหม่จะอ้างเป็นภาพิตัวแทนนั�นคงเป็นไปไม่ได้หากไม่มีการนำเสนอขั�วการเมืองชุดใหม่ที�เน้นลักษณีะ
            ร่วมของผู้ลงคะแนนที�สังกัดตนเองในคู่ขัดแย้งทางการเมืองสองขั�วเดิม หนึ�งในคำแถลงอันหนักแน่นซึ�งปิยบัุตร

            ใช้กล่าวประกอบัวาระของการก่อตั�งพิรรคอนาคตใหม่คือหลักฐานที�ยืนยันประเด็นนี�อย่าง ชัดเจนตามที�ว่า:


                        “คนทุกคนไม่ว่าจะสังกัดกลุ่มการเมืองใด สังกัดสีเสื�อการเมืองใด ไม่ว่าจะเป็นคนชนบัทหรือคนเมือง

                 ไม่ว่าจะเป็นรากหญ้าหรือคนชั�นกลาง ไม่ว่าจะเป็นเยาวชน วัยกลางคนหรือคนชรา ไม่ว่าจะประกอบัอาชีพิ
                 ผู้ใช้แรงงาน เกษตรกร หาเช้ากินค�ำ พินักงานบัริษัท เจ้าหน้าที�รัฐหรือประกอบัอาชีพิอิสระ ไม่ว่าจะเป็นเพิศูใด

                 หรือมีรสนิยมทางเพิศูแบับัใด คนเหล่านี�ต่างก็เป็นประชาชนซึ�งต้องการชีวิตที�ดี มีความมั�นคงและสวัสดิการ
                 สามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีศูักดิ�ศูรีตั�งแต่เกิดจนตาย…” 201



                    จากคำแถลงข้างต้น จะเห็นได้ว่า “ประชาชน” ที�พิรรคอนาคตใหม่มุ่งสถาปนาขึ�นมาเพิื�อเป็นฐานให้กับั

            ความชอบัธิ์รรมสำหรับัขับัเคลื�อนวาระทางการเมืองของตนนั�น จะเป็นประชาชนที�อยู่เหนือความแตกต่าง อันเป็นต้นต่อ
            ความขัดแย้งในสังคมไทยมาก่อน ไม่ว่าจะเป็นความแตกต่างด้านทัศูนะทางการเมือง สถานะทาง เศูรษฐกิจ วัย
            อาชีพิหรือเพิศูสภาพิ ฯลฯ เพิราะหัวใจที�กำหนดลักษณีะของความเป็นประชาชนตรงนี� คือความต้องการที�จะมี

            ชีวิตที�ดี ที�มั�นคงสมศูักดิ�ศูรีในฐานะมนุษย์ อันเป็นความต้องการที�ทุกคนทุกฝ่่ายต่างก็ปรารถนาไม่ต่างกัน ด้วยเหตุนี�
            การก่อร่างสร้าง “ประชาชน” ตามแนวทางของพิรรคอนาคตใหม่จึงไม่ใช่การก่อร่างที�จะกลับัมาซ�ำรอยการแบั่งข้าง

            ตามขั�วคู่ขัดแย้งทางการเมืองเดิม แต่คือปฏิิบััติการที�มุ่งเน้นจุดร่วมที�ทุกฝ่่าย—ไม่ว่า จะมีความแตกต่างกันแค่ไหน
            —ต่างก็มีเหมือนกัน นั�นก็คือความปรารถนาหรือต้องการบัรรลุถึงชีวิตที�ดี

                    นั�นจึงไม่แปลก ที�จุดเน้นสำคัญสำหรับัการสร้าง “ประชาชน” ตามแนวทางของพิรรคอนาคตใหม่ จะไม่ได้
            อยู่ที�ความจงรักภักดีต่อพิระมหากษัตริย์ หรือเสียงข้างมากภายใต้กลไกจากการเลือกตั�ง เพิราะจุดเน้นทั�งคู่

            คือจุดเน้นที�จะกลับัมาตอกย�ำ ความขัดแย้งทางการเมืองเดิม ๆ ในสังคมไทย ตรงกันข้ามการสร้าง “ประชาชน”
            ดังกล่าวจะเริ�มมาจากหลักการที�สามารถเชื�อมร้อยและขับัเน้นความเหมือนในฐานะที�ทุกคนต่างก็เป็นส่วนหนึ�ง
            ของประชาชน ตามแนวทางทฤษฎีซ้ายประชานิยมของลาคลาวและมูฟซึ�งเน้นย�ำว่าหัวใจสำคัญในการเปลี�ยนแปลง

            ทางการเมืองคือการสถาปนาอัตลักษณี์ทางการเมืองขึ�นมาใหม่ผ่านการสร้างจุดยึด (nodal point) ทางอัตลักษณี์โดย
            อาศูัยการสร้าง the chain of equivalence หรือ “ห่วงโซ่แห่งความเท่าเทียมเชื�อมโยง” ที�จะช่วยสลายความแตกต่าง

            รายบัุคคลด้วยการเชื�อมร้อยทุกฝ่่ายภายใต้อัตลักษณี์ทางการเมืองที�เหมือนกัน ดังนั�น ถ้าจุดยึดทางอัตลักษณี์



            200  ปิยบัุตร, “หนึ�งปี อนาคตใหม่: จากกรัมชี�—ลาคลาว—มูฟ—ถึงปฏิิบััติการท้านรกของปิยบัุตร แสงกนกกุล”,
            201  ปิยบัุตร แสงกนกกุล, “อนาคตใหม่ต้องการคุณี”, อนาคตใหม่—Future Forward, วันที� 14 ตุลาคม 2018, https://www.youtube.
            com/watch?v=mXc46ViOmG4, เข้าใช้เมื�อวันที� 15 สิงหาคม 2565
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71