Page 61 - kpiebook66004
P. 61

61



            อุดมการณี์ทางการเมืองออกเป็นฝ่ักฝ่่ายต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มเสื�อเหลือง กลุ่มเสื�อแดง ฝ่่ายพิรรคเพิื�อไทย

            หรือ ฝ่่ายพิรรคประชาธิ์ิปัตย์ ฯลฯ จนกลายเป็นช่องโหว่ให้กองทัพิสามารถแทรกแซงและฉวยโอกาสยึดอำนาจ
            เป็นผลสำเร็จ ในแง่นี�ถ้าอุดมการณี์สำคัญของพิรรคอนาคตใหม่คือการต่อต้านเผด็จการทหาร และถ้าปัจจัยที�
            ทำให้กองทัพิสามารถยึดอำนาจทางการเมืองได้คือความแตกแยกในหมู่ประชาชน หน้าที�สำคัญของพิรรคอนาคตใหม่ก็

            คงเป็นอย่างอื�นไปเสียมิได้นอกจากการการสลายขั�วทางการเมืองต่าง ๆ เพิื�อสร้าง “ประชาชน” ขึ�นมาใหม่ ใน

            ฐานะพิลังหรือเสียงเรียกร้องทางสังคม (social demand) ที�จะร่วมกันต่อต้านและเอาชนะอิทธิ์ิพิลของกองทัพิ
            และเผด็จการทหารในท้ายที�สุด
                    น่าสนใจว่าแม้การกล่าวอ้างถึง “ประชาชน” ในบัทสัมภาษณี์นี�อาจชี�ชวนให้คิดไปถึงวาทศูิลป์ของ นักการ

            เมืองในระบัอบัประชาธิ์ิปไตยที�มักอ้างอิงถึงประชาชนในฐานะรากฐานความชอบัธิ์รรมของอำนาจที�ตนกำลังใช้

            แต่การกล่าวถึงประชาชนดังกล่าวของปิยบัุตรก็ดูเหมือนจะมีนัยมากไปกว่าจะเป็นเพิียงแค่โวหารลอย ๆ ดังที�
            ตัวเขาได้กล่าวเอาไว้ตั�งแต่ในช่วงแรกของข้อความข้างต้นว่า แรงบัันดาลใจสำคัญที�ช่วยให้ตนสามารถวิเคราะห์
            และกำหนดยุทธิ์ศูาสตร์ตลอดไปจนถึงท่าทีของพิรรคที�เน้นสร้าง “ประชาชน” นี�จะมาจากทฤษฎีซ้ายประชานิยม

            ของเออร์เนสโต ลาคลาวและชองตาล มูฟ ซึ�งให้ความสำคัญกับัการเปลี�ยนแปลงภูมิทัศูน์ทางการเมืองผ่านการ

            ระดมสร้างพิลังประชาชน นั�นจึงอาจไม่เกินเลยไปนักหากจะสรุปว่าการกล่าวอ้างถึง ประชาชนในฐานะพิลังที�ช่วย
            สลายความขัดแย้งทางการเมืองเพิื�อเอาชนะกองทัพิและสร้างระบัอบั ประชาธิ์ิปไตยอันสมบัูรณี์ตามเนื�อหาของ
            บัทสัมภาษณี์นี� คือการประยุกต์ใช้ทฤษฎีของลาคลาวและมูฟในบัริบัท ทางของสังคมการเมืองไทยกล่าวอีกแบับั

            ก็คือ ในขณีะที�ทฤษฎีการเมืองของลาคลาวและมูฟจะเป็นทฤษฎีที�มักถูกประยุกต์ใช้กับับัริบัททางการเมืองของ

                                                                                              187
            ประเทศูในยุโรปภายใต้เป้าหมายของการต่อต้านทุนนิยมและระเบัียบัทางการเมืองของเสรีนิยมใหม่  ทฤษฎีดังกล่าว
            กลับัถูกใช้ในบัริบัทของการเมืองไทยที�เป้าหมายสำคัญ (ยัง) ไม่ใช่การเผชิญหน้ากับัทุนนิยมและระเบัียบัทางการเมือง
            แบับัเสรีนิยมใหม่ หากแต่คือการเผชิญหน้าเอาชนะเผด็จการเพิื�อจัดตั�งให้ระบัอบัประชาธิ์ิปไตยสามารถลงหลักปักฐาน

            ในสังคมการเมืองไทยอย่างมั�นคง 188

                    แต่อะไรคือแนวทางการปรับัประยุกต์ใช้ทฤษฎีการเมืองของลาคลาวและมูฟภายใต้บัริบัททางการเมือง
            ของไทย? อะไรคือคุณีูปการทางการเมืองของทฤษฎีดังกล่าวที�พิรรคอนาคตใหม่นำมาประยุกต์ใช้? และคุณีูปการ
            ดังที�ว่านี�ส่งผลต่อการสถาปนาประชาธิ์ิปไตยอันตั�งมั�นในสังคมไทยได้อย่างไร?




                   5.1 บัริบัททางการเมือุง: ควิามขัดแย้งขอุงภูาพต์ัวิแทนประช้าช้นและโอุกาสหลังการเปลี�ยนรัช้สมัย
                   เป็นที�ทราบักันดีว่าตลอดช่วงระยะเวลาเกือบั ๆ ยี�สิบัปีตั�งแต่กลางทศูวรรษที� 2540 เป็นต้นมา สังคม
            การเมืองไทยได้ตกอยู่ภายใต้ความขัดแย้งทางการเมืองอันเข้มข้นระหว่างฝ่่ายแรกที�เป็นคนชั�นกลางเมือง มีฐานะ

            ทางเศูรษฐกิจ เป็นข้าราชการระดับัสูงหรือมีตำแหน่งสำคัญในองค์กรเอกชนธิ์ุรกิจ ฯลฯ กับัฝ่่ายหลังที�เป็น คนชนบัท

            จากภาคเหนือและอีสาน ประกอบัอาชีพิทางการเกษตรและค้าขายทั�วไป ภายใต้การสนับัสนุนจากปัญญาชนปีกก้าวหน้า
            ที�ให้ความสำคัญกับักระบัวนการประชาธิ์ิปไตยและการเลือกตั�ง โดยความขัดแย้งดังกล่าวนี�อาจอธิ์ิบัายได้ผ่าน



            187 ดังที�ตัวชองตาล มูฟเคยใช้ให้เห็นว่าการนำเสนอทฤษฎีหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์ซึ�งเน้นขับัเคลื�อนพิลังประชาชนมากกว่าการพิึ�งพิา
            ชนชั�นกรรมาชีพินั�นจะอยู่ภายใต้บัริบัทการต่อสู้กับัระบับัทุนนิยม และระเบัียบัทางการเมืองแบับัเสรีนิยมใหม่ซึ�งเป็นปัญหาทางการเมือง
            หลักในสังคมตะวันตกดู Chantal Mouffe, For a Left Populism (London: Populism, 2018), pp.9-24.
            188  ดูเพิิ�มเติมได้ประเด็นนี�ได้ใน ปิยบัุตร แสงกนกกุล , “หนึ�งปีอนาคตใหม่: จากกรัมชี�—ลาคลาว—มูฟ—ถึงปฏิิบััติการท้านรก
            ของปิยบัุตร แสงกนกกุล”, ปกป้อง จันทร์วิทย์ (สัมภาษณี์), ใน the 101 world, วันที� 7 มิถุนายน 2019,
            https://www.the101.world/piyabutr-saengkanokkulinterview/’. เข้าใช้เมื�อวันที� 30 กรกฎาคม พิ.ศู. 2565
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66