Page 60 - kpiebook66004
P. 60

60



                   บัทที� 5





                   สร้างประช้าช้นโค่นล้มเผู้ด็จัการ: พรรคอุนาคต์ใหม่กับัทฤษฎีีประช้านิยมฝ่่ายซ้้าย

                   และการสถาปนาประช้าธิ์ิปไต์ยอุันต์ั�งมั�นในสังคมไทย




                        “ผมเลยประยุกต์ทฤษฎีของเออร์เนสโต ลาคลาว กับัชองตาล มูฟ มาใช้ คุณีจะเชียร์พิรรคการเมือง

                 คนละพิรรค ใส่เสื�อคนละสี เป็นเรื�องปกติในการเมืองแบับัระบัอบัประชาธิ์ิปไตย แต่ไม่ได้หมายความว่า
                 คุยกันไม่ได้แล้วเปิดโอกาสให้ทหารเข้ามายึดอำนาจ ผมจึงเสนอให้ชี�ชวนดูความขัดแย้งชุดใหม่ที�ถูกต้อง คือ

                 ทุกคน, คุณีถอดเสื�อถอดสีออกไปก่อนนะ, คุณีต้องการอะไรจากประเทศูนี� คุณีทนเห็นอะไรในสังคมไทย
                 ไม่ไหวแล้ว...เราชี�ชวนให้มาดูกัน จะเอารัฐบัาลมาจากการเลือกตั�งแต่มีทหารขี�คอแบับันี�ทุกครั�ง จะเอาแบับันี�หรือ

                 ถูกละเมิด สิทธิ์ิเสรีภาพิกันถ้วนทั�วไม่ว่าคุณีจะเชียร์พิรรคไหนก็เถอะ เหนือ ใต้ อีสาน ออก ตก โดนหมด
                 เชียร์พิรรคเพิื�อไทย เชียร์พิรรค ประชาธิ์ิปัตย์ คุณีโดนละเมิดสิทธิ์ิหมด ผมก็มานั�งวิเคราะห์ว่า เฮ้ย นี�แหล่ะคือ

                 social demand สิ�งที�เราให้ชื�อว่า “ประชาชน” ไม่ใช่ เสื�อเหลืองเสื�อแดง”
                                                                                  ปิยบัุตร แสงกนกกุล, 2562



                    ข้อความข้างต้นเป็นส่วนหนึ�งในความเห็นของ ดร.ปิยบัุตร แสงกนกกุล เลขาธิ์ิการและหนึ�งในผู้ก่อตั�ง
            พิรรคอนาคตใหม่ ซึ�งให้สัมภาษณี์เมื�อวันที� 8 พิฤษภาคม พิ.ศู. 2562 ภายหลังจากที�ทางพิรรคประสบั ความสำเร็จ

            ในการเลือกตั�งทั�วไปเมื�อสองเดือนก่อนหน้านั�นอย่างท่วมท้นด้วยจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ถึง 81 ที�นั�ง

            จนกลายเป็นพิรรคการเมืองอันดับัสามของประเทศู ทั�ง ๆ ที�ตัวพิรรคเพิิ�งเปิดตัวมาได้เพิียงแค่ปีเศูษเท่านั�น 186
                    แน่นอน สำหรับัผู้เชี�ยวชาญการเมืองไทยคงทราบักันดีว่าปรากฏิการณี์ที�พิรรคการเมืองหน้าใหม่ประสบัผลสำเร็จ
            กวาดที�นั�งในสภาได้เป็นจำนวนมากนั�น มิใช่เรื�องใหม่แต่อย่างใด ดังเช่นการเกิดขึ�นของพิรรค การเมืองเฉพิาะกิจ

            ต่าง ๆ ในหน้าประวัติศูาสตร์การเมืองร่วมสมัยไม่ว่าจะเป็นพิรรคเสรีมนังคศูิลา (ในการเลือกตั�ง พิ.ศู.2500)

            พิรรคสหประชาไทย (ในการเลือกตั�งพิ.ศู.2512) หรือพิรรคสามัคคีธิ์รรม (ในการเลือกตั�ง พิ.ศู.2535) ฯลฯ
            อย่างไรก็ตามในขณีะที�ความสำเร็จของพิรรคอนาคตใหม่อาจดูเหมือนไม่ได้แตกต่างในเชิง เปรียบัเทียบักับั
            พิรรคการเมืองเฉพิาะกิจตามที�ยกตัวอย่างมาข้างต้น แต่เมื�อพิิจารณีาไปถึงรายละเอียดก็จะพิบัลักษณีะพิิเศูษใน

            ความสำเร็จดังกล่าวของพิรรคอนาคตใหม่ที�แปลกไปจากพิรรคการเมืองเฉพิาะกิจก่อนหน้าอย่างสิ�นเชิง โดยเฉพิาะ

            การปฏิิเสธิ์แนวทางที�เน้นกวาดต้อนอดีตผู้แทนจากพิรรคการเมืองต่าง ๆ มาเป็นสมาชิก เพิื�อรับัประกันคะแนนเสียง
            จากการเลือกตั�ง แต่เลือกใช้การสื�อสารทางอุดมการณี์ที�มุ่งต่อต้านคณีะรักษาความสงบัแห่งชาติ (คสช.) ผู้ทำ
            รัฐประหารเมื�อปี พิ.ศู.2557 ตลอดไปจนถึงพิรรคการเมืองที�สืบัทอดอานาจของคณีะรัฐหารชุดดังกล่าวอย่างชัดเจน

                    ทั�งนี� ดังข้อความจากบัทสัมภาษณี์ข้างต้น จะเห็นได้ว่าแม้อาจพิิจารณีาว่ากองทัพิคืออุปสรรคสำคัญต่อ

            พิัฒนาการทางการเมืองของประเทศู แต่ปิยบัุตรก็ได้ชี�ให้เห็นถึงปัจจัยที�สร้างความได้เปรียบัแก่กองทัพิว่าหาได้ยู่
            ที�ตัวอาวุธิ์ยุทโธิ์ปกรณี์หรือกำลังพิล หากแต่อยู่ที�ความแตกแยกของประชาชนเองที�แบั่งแยกความคิดและ



            186  ดูเนื�อหาคำสัมภาษณี์ทั�งหมดได้ใน ปิยบัุตร แสงกนกกลุ , “จากชีวิตขนาดยาวถึงความฝ่ันนอกหมวกนักวิชาการของ
            ปิยบัุตรแสงกนกกุล”, ขวัญชาย ดำรงขวัญและอติเดช ชัยวัฒนกุล (สัมภาษณี์), ใน The Matter,วันที� 8 พิฤษภาคม 2019,
            https://thematter.co/social/long-interviewwith-piyabutr/76766. เข้าใช้ในวันที� 28 พิฤษภาคม พิ.ศู. 2565
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65