Page 63 - kpiebook66004
P. 63
63
จริงอยู่ การสรุปรวบัยอดความขัดแย้งทางการเมืองของไทยในรอบัสองทศูวรรษมานี�โดยรวมศููนย์ไปที�
ท่าทีต่อรัฐบัาลของทักษิณี ชินวัตร อาจดูเป็นการสรุปที�ลดทอนความซับัซ้อนของเงื�อนไขทางสังคมต่าง ๆ ทว่า
ข้อสรุปดังที�ว่านี�ก็อาจไม่ได้เป็นข้อสรุปที�ตื�นเขินไปเสียทีเดียว โดยเฉพิาะเมื�อพิิจารณีาไปถึงผลกระทบัต่อโครงสร้าง
ความสัมพิันธิ์์ทางอำนาจที�นโยบัายของทักษิณีมีต่อสังคมไทย ดังข้อสรุปอันแหลมคมของเกษียร เตชะพิีระ
นักรัฐศูาสตร์ผู้โด่งดังที�ได้สรุปรวบัยอดให้เห็นว่าแท้จริงแล้วสิ�งที�รัฐบัาลทักษิณีกระทำไปนั�นคือการ สถาปนา
“ระบัอบัสมบัูรณีาญาสิทธิ์ิ�ทุนจากเลือกตั�ง” ซึ�งก็คือการอาศูัยนโยบัายกระตุ้นเศูรษฐกิจในระดับัรากหญ้ามาสร้าง
ความนิยมจากประชาชน จนสามารถครอบัครองตำแหน่งทางการเมืองต่าง ๆ ไปจนถึงใช้อำนาจจากตำแหน่ง
192
ดังกล่าวอย่างเต็มที�โดยพิร้อมจะละเมิดกรอบัข้อบัังคับัทางกฎหมายที�เคยควบัคุมขอบัเขตการใช้อำนาจเหล่านั�น
แน่นอน การกล่าวเปรียบัเปรย “ระบัอบัทักษิณี” ว่าเป็นสมบัูรณีาญาสิทธิ์ิราชย์ในที�นี�ย่อมมีนัยเชิงโวหาร
เทียบัเคียงไปถึงแนวโน้มการใช้อำนาจของรัฐบัาลทักษิณีที�มีลักษณีะหมิ�นเหม่พิร้อมละเมิดกรอบักฎหมายไม่ต่าง
ไปจากการใช้อำนาจตามอำเภอใจของพิระมหากษัตริย์ในระบัอบัสมบัูรณีาญาสิทธิ์ิราชย์ อย่างไรก็ตาม พิ้นไปจาก
นัยตามที�กล่าวไปแล้ว การกล่าวว่ารัฐบัาลของทักษิณีมีลักษณีะแบับั สมบัูรณีาญาสิทธิ์ิราชย์เองก็มีนัยแฝ่ง
ไปถึงความขัดแย้งระหว่างตัวทักษิณีกับัสถาบัันพิระมหากษัตริย์อย่างไม่อาจหลีกเลี�ยงไปได้ เพิราะยิ�งรัฐบัาลของทักษิณี
ได้รับัความนิยมสูงมากขึ�นเท่าใด ความนิยมนั�นก็จะย้อนกลับัมา ทำให้รัฐบัาลกลายเป็นคู่แข่งกับัราชสำนักมาก
เท่านั�น
ทั�งนี� ดังที�นักวิชาการด้านรัฐศูาสตร์ท่านหนึ�งเคยวิเคราะห์เอาไว้ได้อย่างน่าสนใจว่า ความนิยมที�ราชสำนัก
และพิระมหากษัตริย์ได้รับัจากเหล่าพิสกนิกรนั�นคือหัวใจสำคัญที�ช่วยค้ายันบัทบัาทตลอดจนอำนาจ ทางการเมือง
ที�สถาบัันพิระมหากษัตริย์ใช้สถาปนาฐานะอันสูงส่งในสังคมไทย เพิราะความนิยมดังดังกล่าวคือ หลักฐานถึง
ความสำเร็จในการ “แปลงเจตจำนงของประชาชนให้กลายเป็นเจตจำนงของพิระราชา” หรือก็คือ การการจัดวาง
ให้พิระมหากษัตริย์เป็นผู้นำทางทางการเมืองผ่านการยืนยันถึงสถานะของพิระมหากษัตริย์ใน ฐานะตัวแทน
อันแท้จริงของประชาชน ดังนั�น เมื�อพิิจารณีาจากแง่มุมดังกล่าว การที�รัฐบัาลของทักษิณีได้รับัความนิยมจาก
193
ประชาชนเป็นอย่างสูงจึงย่อมส่งผลต่อฐานความชอบัธิ์รรมในฐานะตัวแทนประชาชนอันแท้จริงของพิระมหากษัตริย์
ตามไปด้วย หรือหากจะกล่าวอีกแบับัก็คือความนิยมอย่างถล่มทลายในฐานะ นายกรัฐมนตรีที�มาจากการเลือกตั�ง
ของทักษิณีได้ส่งผลกัดกร่อนฐานความชอบัธิ์รรมทางการเมืองของ พิระมหากษัตริย์ในฐานะตัวแทนของปวงชน
หรือประชาชนไปโดยปริยาย 194
ด้วยเหตุนี� ความขัดแย้งทางการเมืองระหว่าง “เสื�อเหลือง” กับั “เสื�อแดง” จึงอาจเป็นภาพิสะท้อน ของ
ความขัดแย้งทางสัญลักษณี์ที�เชื�อมต่อกับัจุดยึด (nodal point) อันเป็นฐานความชอบัธิ์รรมทางการเมืองใน สังคม
ประชาธิ์ิปไตยอย่าง “ประชาชน” ระหว่างฝ่่ายที�เชื�อมต่อกับัประชาชนผ่านตำแหน่งของพิระมหากษัตริย์ กับัฝ่่าย
ที�เชื�อมต่อกับัประชาชนผ่านกลไกการเลือกตั�ง กล่าวอย่างถึงที�สุด ความขัดแย้งทางการเมืองในรอบัเกือบั ๆ สองทศูวรรษ
ตั�งแต่กลางทศูวรรษที� 2540 เป็นต้นมา คือผลของวิกฤติทางสัญลักษณี์ซึ�งทำหน้าที�เชื�อมต่อ เป็นภาพิตัวแทน
(representation) ประชาชน ที�แต่ละฝ่่ายต่างก็ไม่สามารถยึดครองและผูกขาดความเป็นภาพิตัวแทนที�เชื�อมต่อ
กับัประชาชนได้อย่างสมบัูรณี์ นั�นจึงไม่แปลกที�ชัยชนะทางการเมืองของฝ่่ายใดฝ่่ายหนึ�งจะนำมาซึ�งการต่อต้าน
192 เกษียร เตชะพิีระ, “ระบัอบัทักษิณี”, ฟ้้าเดี่ยวก้น, 2:1 (มกราคม-มีนาคม 2547), หน้า 43-48
193 ปฤณี เทพินรินทร์, “อุดมการณี์ราชาชาตินิยมกบัักระบัวนการแปลงเจตจำนงมหาชนให้กลายเป็นเจตจำนงแห่งราชา”,
ฟ้้าเดี่ยวก้น, 10:2 (กรกฎาคม-ธิ์ันวาคม 2555)
194 เพิิ�งอ้าง, หน้า 69-74.