Page 62 - kpiebook66004
P. 62
62
สีที�แต่ละฝ่่ายใช้เป็นสัญลักษณี์บั่งบัอกจุดยืนและอุดมการณี์ของพิวกตน ดังข้อคำนึงของนักรัฐศูาสตร์ชื�อดังท่านหนึ�ง
ที�ได้กล่าวเปรียบัเปรยว่าความขัดแย้งทางการเมืองของไทยในช่วงเวลาดังที�ว่านี�คือ “สงครามระหว่างสี” ระหว่าง
ฝ่่ายแรกที�ใช้ “เสื�อเหลือง” เป็นสัญลักษณี์ โดยมีนัยถึงการปกป้องสถาบััน พิระมหากษัตริย์และค่านิยมตามจารีตต่าง ๆ
ของสังคมไทย กับัฝ่่ายหลังที�ใช้ “เสื�อแดง” เป็นสื�อบั่งบัอกถึงความยากลำบัากของคนชั�นล่างที�ปรารถนาในระบัอบั
ประชาธิ์ิปไตยอันเป็นธิ์รรม ไม่สองมาตรฐาน 189
แน่นอน ความขัดแย้งทางการเมืองดังที�ว่านี�ถือเป็นหนึ�งในประเด็นยอดนิยมในการศูึกษาทางรัฐศูาสตร์
และสังคมศูาสตร์ นักวิชาการบัางท่านเสนอว่าความขัดแย้งตรงนี�คือภาพิสะท้อนผลกระทบัจากการเข้ามาของ
วัฒนธิ์รรมทุนนิยมที�ส่งผลกัดกร่อน ทำลายคุณีค่าทางศูีลธิ์รรมและจริยธิ์รรมทางการเมืองซึ�งเคยร้อยรัดประชาชนไทย
190
ให้มีความเป็นหนึ�งเดียว ขณีะที�นักวิชาการอีกส่วนหนึ�งกลับัเล็งเห็นว่าความขัดแย้งดังกล่าวคือ ผลลัพิธิ์์จาก
พิัฒนาการทางเศูรษฐกิจในช่วงสามทศูวรรษก่อนหน้าที�ได้เปลี�ยนแปลงโครงสร้างทางสังคมจนให้กำเนิดชนชั�นใหม่
ผู้มีผลประโยชน์และทัศูนคติทางการเมืองแตกต่างกระทั�งก่อเกิดเป็นความขัดแย้งกับัชนชั�นผู้ ครองอำนาจเดิมในสังคม
191
กระนั�น แม้อาจมีคำอธิ์ิบัายอันหลากหลาย แต่คงมิอาจปฏิิเสธิ์ได้ว่าหนึ�งใน ปัจจัยพิื�นฐานที�เป็นต้นตอความขัดแย้ง
ทางการเมืองตามที�กล่าวไปนี� ก็คือท่าทีที�แต่ละฝ่่ายมีต่อบัทบัาทและ ผลกระทบัเชิงนโยบัายจากรัฐบัาลของพิันตำรวจโท
ดร.ทักษิณี ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีผู้ดำรงตำแหน่ง ตั�งแต่ปี พิ.ศู.2544 ก่อนจะถูกรัฐประหารในปี พิ.ศู.2549
กล่าวคือ ในขณีะที�ฝ่่ายที�ใช้เสื�อเหลืองเป็นสัญลักษณี์ทางการเมืองจะเป็นฝ่่ายอนุรักษ์นิยมผู้หวาดระแวง กังขาและ
ต่อต้านทักษิณี (จนเลยเถิดไปถึงการต่อต้าน กระบัวนการเลือกตั�งตามระบัอบัประชาธิ์ิปไตย) ฝ่่ายเสื�อแดงก็คือ
ฝ่่ายประชาธิ์ิปไตยที�ชื�นชอบัในผลงานการ บัริหารประเทศูของทักษิณี (และดังนั�นจึงให้การสนับัสนุนกระบัวนการ
คัดสรรผู้บัริหารประเทศูด้วยการเลือกตั�งตามแนวทางประชาธิ์ิปไตย)
189 เกษียร เตชะพิีระ, สูงครีามรีะหว่างสู่ (กรุงเทพิฯ: Open Books,2553)
190 สมบััติ จันทรวงศู์, “ประชาธิ์ิปไตยไทย: ปรัชญาและความเป็นจริง”, นารี่-นาวา-ปรีะชา-รี้ฐ: รีวมบที่ความสู้มมนา ปรีะจำปี 2555
คณะ รี้ฐศาสูตรี์ ธรีรีมศาสูตรี์, กิตติประเสริฐสุข (บัรรณีาธิ์ิการ) (กรุงเทพิฯ: คณีะรัฐศูาสตร์มหาวิทยาลัยธิ์รรมศูาสตร์, 2555), หน้า 45-76.
191 อภิชาต สถิตนิรามัย, ยุกติ มุกดาวิจิตรและนิติ ภวัครพิันธิ์ุ์, ที่บที่วนภููมิที่้ศน์การีเมืองไที่ย (เชียงใหม่: แผนงานสร้างเสริม
นโยบัายสาธิ์ารณีะที�ดี (นสธิ์.) และสถาบัันศูึกษานโยบัายสาธิ์ารณีะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2556)