Page 64 - kpiebook66004
P. 64
64
จากภาพิตัวแทนประชาชนอีกฝ่ั�งหนึ�งเสมอ ไม่ว่าจะเป็นการเดินขบัวนของฝ่่ายเสื�อเหลืองที� ต่อต้านรัฐบัาลฝ่่าย
ทักษิณีของนายสมัคร สุนทรเวช และนายสมชาย วงศู์สวัสดิ� ในปี พิ.ศู.2551 ตลอดไปจนถึงการรณีรงค์ต่อต้าน
รัฐบัาลนายอภิสิทธิ์ิ� เวชชาชีวะโดยฝ่่ายเสื�อแดงในปี พิ.ศู.2552 และ 2553 รวมทั�งการเดินขบัวนปิดกรุงเทพิมหานคร
เพิื�อโค่นล้มรัฐบัาลของนางสาวยิ�งลักษณี์ ชินวัตรในปี พิ.ศู.2557 ในแง่นี� การรัฐประหารล้มล้างรัฐบัาลประชาธิ์ิปไตย
โดยฝ่่ายกองทัพิซึ�งมีนัยอ้างอิงไปถึงอำนาจของพิระมหากษัตริย์ ทั�งที� เกิดขึ�นในปี พิ.ศู.2549 และในปี พิ.ศู.2557
จึงอาจไม่ใช่อะไรเลยนอกจากความพิยายามของฝ่่ายการเมืองหนึ�งในการผูกขาดความเป็นภาพิตัวแทนประชาชน
ด้วยการตัดทำลายการเชื�อมต่อที�ผูกโยงประชาชนเข้ากับัตำแหน่งทางการเมืองที�มาจากการเลือกตั�ง พิร้อม ๆ ไปกับั
ยืนยันถึงความเป็นภาพิตัวแทนของประชาชนอัน แท้จริงที�ดำรงอยู่ภายในสถาบัันหลักของประเทศูอย่างสถาบััน
พิระมหากษัตริย์ 195
ปฏิิเสธิ์ได้ยากว่าการทำรัฐประหารข้างต้น เป็นยุทธิ์ศูาสตร์ทางการเมืองที�ประสบัผลสำเร็จไม่น้อย เพิราะ
การทำให้สังคมการเมืองไทยปราศูจากการเลือกตั�งในระยะเวลานานย่อมส่งผลในการตัดการเชื�อมต่อที�ผูกโยงประชาชน
เข้ากับัตำแหน่งทางการเมืองที�มาจากการเลือกตั�ง กระนั�น หากการรัฐประหารส่งผลบัั�นทอนฝ่่ายการเมืองที�
ให้ความสำคัญกับัสัญลักษณี์ที�เชื�อมต่อประชาชนเข้ากับักระบัวนการเลือกตั�ง การสิ�นรัชสมัยของพิระมหากษัตริย์
ผู้ครองราชย์ยาวนานกว่าครึ�งศูตวรรษก็ย่อมส่งผลต่อความน่าเชื�อถือของสถาบัันพิระมหากษัตริย์ในฐานะของ
สถาบัันที�อ้างอิงความชอบัธิ์รรมของตนเข้ากับัการเป็นผู้แทนอันแท้จริงของประชาชนด้วยเช่นกัน ในแง่นี� นับัตั�งแต่
ปลายปี พิ.ศู.2559 อันเป็นการย่างเข้าปีที�สามหลังการรัฐประหาร และเป็นปีแห่งการสิ�นสุดรัชสมัยของ
พิระมหากษัตริย์ที�ครองราชย์มาอย่างยาวนาน สังคมการเมืองไทยก็ได้เข้าสู่ภาวะสุญญากาศูที�แกนหลักซึ�งเคยเป็น
แกนกลางของแต่ละฝ่่ายในการยึดเหนี�ยวการเชื�อมต่อเพิื�อเป็นภาพิตัวแทนของประชาชนเริ�มเสื�อมถอย จนเปิดโอกาส
และความเป็นไปได้ในการเชื�อมต่อเพิื�อสร้างภาพิตัวแทนชุดใหม่ของประชาชน ดังความเห็นของเกษียรที�ชี�ให้เห็น
ว่าการหายหน้าไปจากสังคมการเมืองของผู้นำสูงสุดทั�ง สองฝ่่ายในช่วงผลัดแผ่นดินตลอดจนการลี�ภัยทางการเมือง
ได้สร้างสิ�งที�เรียกกันว่าจังหวะประชานิยม (populist moment) ซึ�งก็คือจังหวะเวลาที�การเชื�อมต่อเดิมเพิื�อเป็น
ภาพิตัวแทนของประชาชนถึงจุดวิกฤติ ส่งผลก่อให้เกิดพิลังประชานิยมทางการเมืองที�รอคอยให้กลุ่มและฝ่ักฝ่่าย
ทางการเมืองหน้าใหม่สร้างการ เชื�อมต่อเข้ากับัฝ่่ายของตนในฐานะภาพิตัวแทนชุดใหม่ของประชาชน 196
ข้อวิเคราะห์สถานการณี์ความเปลี�ยนแปลงของสังคมการเมืองไทยข้างต้นนี� ถือได้ว่าสอดคล้องกับัความเห็น
ของชัยธิ์วัช ตุลาธิ์ร อดีตผู้ร่วมก่อตั�งพิรรคอนาคตใหม่ ที�ให้สัมภาษณี์กับัคณีะผู้วิจัยว่าจุดเริ�มต้นสำคัญที�เป็น
แรงขับัเคลื�อนในการสร้างพิรรคอนาคตใหม่นั�นจะมาจากลักษณีะของการเมืองไทยยุคเปลี�ยนรัชสมัยที� ฝ่่ายนำ
ทางการเมืองเดิมไม่สามารถสถาปนาภาวะนำด้วยการผูกขาดการเชื�อมต่อกับัประชาชนเอาไว้ได้ ไม่ว่าจะเป็น
195 คณีะผู้วิจัยได้รับัอิทธิ์ิพิลสำหรับัการเข้าใจประเด็นนี�จากงานวิจัยของเออเจนีเมอริโอซึ�งชี�ให้เห็นว่า การรัฐประหารทั�งในปี พิ.ศู.2549
และ พิ.ศู.2557 นั�น เป็นผลจากความล้มเหลวของขบัวนการตุลาการณี์ภิวัตรซึ�งมีเป้าหมายในการสร้างความเป็นสถาบัันให้กับั
อำนาจและความชอบัธิ์รรมทางการเมืองของกษัตริย์เพิื�อป้องกันความไม่แน่นอนในช่วงเปลี�ยนรัชสมัย และเพิื�อธิ์ำรงสถานะนำที�
ได้ปรียบัของชนชั�นนำอนุรักษ์นิยม กล่าวคือแม้จะมีการสร้างและออกแบับัศูาลรัฐธิ์รรมนูญเพิื�อสืบัทอดอำนาจในแบับัที�พิระมหากษัตริย์
เคยใช้แต่อำนาจ ดังกล่าวกลับัไม่สามารถรับัมือกับัพิลังทางการเมืองซึ�งมาจากการเลือกตั�งของรัฐบัาลทักษิณีซึ�งได้การใช้กำลังทหาร
จากกองทัพิ เพิื�อขุดรากถอนโคนพิลังดังกล่าว จึงเป็นสิ�งที�มิอาจหลีกเลี�ยงไปได้ ดู เออเจนี เมอริโอ, “รัฐเร้นลึกในไทย พิระราชำนาจ
และศูาลรัฐธิ์รรมนูญ (พิ.ศู.2540-2558), วีระ อนามศูิลป์ (แปล), ฟ้้าเดี่ยวก้น, 14:1 (มกราคม-เมษายน 2559), หน้า 13-46.
196 Kasian Tejapira, “Elite Realignment, a populist moment: reflections on Thailand’s 2019 general elections”,
new mandala, 4 April 2019, https://www.newmandala.org/elite-realignment-a-populist-moment-reflections-on-thailands-
2019-general-elections/ , เข้าใช้เมื�อวันที� 30 กรกฎาคม 2565