Page 67 - kpiebook66004
P. 67
67
ในกรณีีของสังคมไทยและพิรรคอนาคตใหม่คือ “ประชาชน” ห่วงโซ่ที�ทางพิรรคใช้เพิื�อขับัเน้นความเหมือนสำหรับั
การเชื�อมต่อและนิยาม “ประชาชน” ขึ�นมาเสียใหม่ (พิร้อม ๆ ไปกับัสลาย ความแตกต่างในขั�วขัดแย้ง
ทางการเมืองเดิม) ก็คงเป็นอย่างอื�นไปเสียมิได้นอกจากหลักการเรื�อง “ความเท่า เทียม” ดังที�ธิ์นาธิ์ร หัวหน้า
พิรรคอนาคตใหม่ได้เคยกล่าวขณีะที�ให้สัมภาษณี์ครั�งหนึ�งว่า:
“พิรรคอนาคตใหม่ให้ความสำคัญกับัคนไทยเท่าเทียมกันประเทศูไทยเท่าทันโลก นี�คือวิสัยทัศูน์ที�เรา
อยากเห็นประเทศูไทยในอนาคต เวลาเราพิูดถึงเท่าเทียมกันเราพิูดถึงอะไร? เราพิูดถึงความเท่าเทียมในสามมิติ
ก็คือเศูรษฐกิจ สังคม การเมือง เศูรษฐกิจ เรากำลังพิูดถึงการลดความเหลื�อมล�ำาระหว่างคนรวยกับัคนจน
ที�ช่องว่างนั�นมันใหญ่มหาศูาล ถ้าวัดกันด้วยทรัพิย์สินธิ์์ของคนหนึ�งเปอร์เซ็นต์ในโลก ถ้าใช้ตัวชี�วัดนี�เป็น
ตัววัดประเทศูไทยคือประเทศูที�เหลื�อมล�ำทางเศูรษฐกิจมากที�สุดในโลก เราเห็นกฏิหมายผูกขาดทางการค้า
เราเห็นสัมปทานที�เอื�อให้กลุ่มทุนไม่กี�กลุ่มทุน สร้างเนื�อสร้างตัวมีความมั�งคั�งเป็นแสนล้านได้ในเวลาเพิียง
10-20 ปี ในขณีะที�คนจนไม่มีโอกาสทางเศูรษฐกิจ ไม่มีโอกาสที�จะเติบัโต ไม่มีโอกาสที�จะก้าวผ่านชนชั�นของ
ตัวเองในชั�วชีวิตหนึ�ง ในด้านสังคม เราเห็นความไม่เท่าเทียมกัน ในการเข้าสู่ความยุติธิ์รรม ความยุติธิ์รรม
ในประเทศูนี�มีไว้ให้สำหรับัคนรวยและคนมีอำนาจ คนจนไม่ได้รับัความยุติธิ์รรม จุดที�สุดของคนจน ของคนที�
ไร้อำนาจอยู่ในคุกอยู่ในตะราง การปฏิิบััติอย่างไม่เสมอภาคกันต่อหน้ากฎหมายคือความเหลื�อมล�ำทางสังคม
ที�สำคัญที�สุด ส่วนสุดท้ายคือเรื�องความเท่าเทียมกันทางด้านการเมือง เราเห็นชัดว่าประเทศูนี�ไม่ได้มองว่า
คนทุกคนมีหนึ�งสิทธิ์ิหนึ�งเสียงเท่ากัน เสียงของคนไม่ได้มีความหมายเท่ากัน เสียงของคนจนไม่เป็นที�ถูกได้ยิน
เสียงของประชาชนไม่เคยได้รับัการเคารพิ เมื�อไรก็ตามที�ชนชั�นนำหรืออภิสิทธิ์ิ�ชนรู้สึกว่าถูกสั�นคลอน ก็จะใช้
กลไกรัฐประหารมายึดอำนาจคืนสู่ตัวเขาเอง ไม่แบั่งปันอำนาจซึ�งควรเป็นของประชาชนให้กับั ประชาชน ดังนั�น
เวลาเราพิูดถึงความเท่าเทียมกัน เราหมายถึงสามมิตินี�” 202
คำกล่าวข้างต้นของธิ์นาธิ์ร สะท้อนให้เห็นถึงหลักการที�พิรรคอนาคตใหม่ใช้เป็นฐานสำหรับัการสร้าง “ประชาชน”
ที�พิรรคจะนำเสนอเพิื�อเป็นภาพิตัวแทน นั�นก็คือหลักการเรื�องความเท่าเทียมทั�งในมิติทาง เศูรษฐกิจ สังคมและ
การเมือง “ประชาชน” ที�พิรรคอนาคตใหม่ต้องการจะเป็นภาพิตัวแทนจึงย่อมมิใช่พิสกนิกรผู้จงรักภักดี หรือ
เสียงข้างมากที�ปรากฏิออกมาจากการเลือกตั�ง หากแต่คือผู้คนในทุก ๆ ชนชั�นที�ปรารถนา โอกาสทางเศูรษฐกิจ
อย่างเท่าเทียม ปรารถนากฎหมายที�เป็นธิ์รรมที�ตนเองมีสิทธิ์ิบันเงื�อนไขของการเป็น เจ้าของอำนาจอย่างแท้จริง
จุดร่วมที�ช่วยผสานและสร้างอัตลักษณี์ของประชาชน—สำหรับัพิรรคอนาคต ใหม่—จึงเป็นอย่างอื�นไปเสียมิได้
นอกจาก ความปรารถนาที�จะสร้างสังคมที�ทุก ๆ คนสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่าง เสมอภาค ไม่ตกอยู่ในความสัมพิันธิ์์
อันเหลื�อมล�ำที�ตนเองสูญเสียอำนาจในการกำหนดชะตากรรมในชีวิตของตน
ถึงตรงนี� จึงเป็นที�ชัดเจนว่านอกจากยุทธิ์ศูาสตร์การสลายความขัดแย้งตามขั�วการเมืองเดิมเพิื�อ นำเสนอ
ความเหมือนที�เชื�อมร้อยทุกฝ่่ายในฐานะประชาชนเข้าด้วยกันแล้ว การนำเสนอคู่ขัดแย้งร่วมของทุกคนใหม่ในฐานะ
”ปรปักษ์” (antagonist) ของประชาชน ก็ถือเป็นองค์ประกอบัหนึ�งที�จำเป็นต้องนำเสนอออกมา เพิราะยิ�งมีการเน้นย�ำ
202 ธิ์นาธิ์รจึงรุ่งเรืองกิจ, “เลือกตั�ง2562: ประเทศูนี�ไม่ได้มองว่า คนทุกคนมี 1 สิทธิ์ิ 1 เสียงเท่ากัน”, BBC NEWS, ว้นที� 16 มกราคม 2019,
https://www.youtube.com/watch?v=fp9tmljNwQs, เข้าใช้เมื�อวันที� 15 สิงหาคม 2565,