Page 55 - kpiebook66004
P. 55
55
จึงทำให้ซิริซ่าชนะการเลือกตั�งในเดือนมกราคม 2015 เป็นอันดับัที�หนึ�ง ได้จำนวนที�นั�ง 149 ที�นั�ง ได้เพิิ�ม
จากการเลือกตั�งก่อนถึง 78 ที�นั�ง ถือเป็นความสำเร็จครั�งใหญ่ของซิริซ่าและยุทธิ์ศูาสตร์ประชานิยมฝ่่ายซ้าย ทำให้
ซิริซ่าสามารจัดตั�งรัฐบัาลผสมกับัพิรรค ANEL (Independent Greeks) ซึ�งเป็นพิรรคที�ต่อต้านนโยบัายรัดเข็มขัดที�
แยกตัวออกจาก ND ในปี 2012
4.4 การขึ�นสู่ [และลงจัาก] อุำนาจัขอุงซ้ิริซ้่า
ซิริซ่าชนะการเลือกตั�งสองครั�งในปี 2015 เนื�องจากในการเลือกตั�งครั�งแรกในเดือนมกราคม 2015 ที�ซิริซ่า
ได้จัดตั�งรัฐบัาลผสมนั�น มีอายุได้ราว 8 เดือน เนื�องจากเมื�อซิริซ่าภายใต้การนำของ Tsipras ในช่วงแรกนั�น
แม้ว่าจะยังคงแนวนโยบัายที�หาเสียงไว้ในเรื�องของการต่อต้านเสรีนิยมใหม่ ต่อต้านสัญญากับัสหภาพิยุโรป แต่ก็
ยังไม่สามารถเปลี�ยนแปลงอะไรที�เป็นรูปธิ์รรม และจุดเปลี�ยนอีกครั�งหนึ�งก็ตามมาในเดือนกรกฎาคม 2015 เมื�อ
มีข้อตกลงในการรับัเงินช่วยเหลือจากสหภาพิยุโรป กองทุนการเงินระหว่างประเทศู (IMF) และธิ์นาคารกลางยุโรป
(ECB) อีกฉบัับั เนื�องจากปัญหาวิกฤตหนี�ของกรีซที�เรื�อรังตั�งแต่วิกฤตเศูรษฐกิจ 2008 ซึ�งข้อตกลงนี�มีมาตรการ
ที�เข้มงวดด้านการเงินมากขึ�น โดยกรีซจะต้องตัดงบัประมาณีลงและลดสวัสดิการบัำนาญลง จึงจะได้รับั Tsipras
ในฐานะนายกรัฐมนตรีจึงประกาศูให้มีการลงประชามติเพิื�อตัดสินใจว่าจะรับัข้อตกลงดังกล่าวจากสหภาพิยุโรป
หรือไม่ ซึ�งผลปรากฏิว่า ประชาชนได้ลงมติ “ไม่รับั” กว่าร้อยละ 61 ซึ�งเป็นการแสดงออกถึงเจตจำนงค์ของ
ประชาชนในการไม่เอากับันโยบัายรัดเข้มขัดอย่างเข้มงวดของสหภาพิยุโรป แต่อย่างไรก็ดี Tsipras ก็ได้กลับัลำ
และตัดสินใจตกลงรับัข้อเสนอดังกล่าวกับัสหภาพิยุโรปเป็นเวลา 3 ปี โดยต้องอาศูัยเสียงจากฝ่่ายค้านที�สนับัสนุน
นโยบัายรัดเข็มขัด เพิราะผู้แทนจากพิรรคซิริซ่าเองราว 43 คนนั�นลงมติไม่เห็นด้วย ซึ�งข้อเสนอดังกล่าวนั�น
มีความเข้มงวดทางเศูรษฐกิจมากกว่าเดิมเสียอีก 173
การกระทำดังกล่าวจึงส่งผลให้เกิดการสูญเสียเสถียรภาพิและความชอบัธิ์รรมในรัฐบัาลขึ�น เนื�องจากมีผู้แทน
หลายคนลงมติไม่เห็นด้วย Tsipras จึงเห็นว่า เป็นเรื�องทางศูีลธิ์รรมที�ควรทำที�จะต้องจัดให้มีการเลือกตั�งใหม่อีกครั�ง
เพิื�อถามเสียงจากประชาชนว่าอยากให้ซิริซ่าไปต่อหรือไม่ และเพิื�อให้ประชาชนตัดสินใจว่าพิรรคการเมืองใดควรที�
จะนำข้อตกลงนี�ไปใช้ เนื�องจากซิริซ่าได้กลับัลำทำในสิ�งที�เคยต่อต้านไว้ แม้จะทำด้วยความจำเป็นก็ตาม ดังนั�น
174
Tsipras ในฐานะนายกรัฐมนตรีจึงลาออกและจัดให้มีการเลือกตั�งใหม่ในเดือนกันยายน 2565 ซึ�งผลปรากฏิว่า
175
ซิริซ่ายังได้ที�นั�งมากถึง 145 ที�นั�ง ซึ�งน้อยกว่าเดิมเพิียง 4 ที�นั�ง ซิริซ่าจึงยังได้รับัความชอบัธิ์รรมในการเป็นรัฐบัาลต่อ
โดยจัดตั�งรัฐบัาลผสมกับัพิรรค ANEL ที�ได้ไป 10 ที�นั�งเช่นเดิม ซึ�ง Tsipras ได้กล่าวว่า การเลือกตั�งครั�งนี�
เป็นชัยชนะของประชาชน แสดงว่าประชาชนยังให้ความเชื�อมั�นในแนวทางของซิริซ่าว่าจะสามารถพิากรีซออกจาก
วิกฤตได้หรือไม่ ?
อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการเผยออกมาผ่านเรื�องเล่าในเชิงแก้ต่างให้กับั Tsipras และซิริซ่าว่าการทำ
ข้อตกลงนั�น เป็นการ “ยื�นคำขาด” จากสหภาพิยุโรปว่าจะรับัการช่วยเหลือหรือไม่รับั ซึ�ง Tsipras ได้พิยายามต่อรอง
และหาทางออกที�เป็นประโยชน์ต่อกรีซที�สุด โดยอีกทางเลือกหนึ�งหากไม่รับัข้อตกลงคือกรีซออกจากสหภาพิยุโรป
173 Gabriele Steinhauser and Tom Fairless, ‘Greece Requests Three-Year Bailout in First Step Toward Meeting
Creditors’ Demand’, WSJ, accessed 19 August 2022, http://www.wsj.com/articles/greek-prime-ministerpledges-con-
crete-proposals-to-bridge-creditor-impasse-1436348229.
174 Katsambekis, ‘The Populist Radical Left in Greece’, 37.
175 ‘Greece Crisis: PM Alexis Tsipras Quits and Calls Early Polls’, BBC News, 20 August 2015, sec. Europe,
https://www.bbc.com/news/world-europe-34007859.