Page 50 - kpiebook66004
P. 50

50



            เอกชนขององค์กรต่าง ๆ ก็ดี ที�ทำให้เกิดสภาวะที�ยากลำบัากของกรีซ ทำให้สภาวะหลังประชาธิ์ิปไตย ที�ไม่มี

            ความเป็นการเมืองนั�นถูกมองว่าเป็นปัญหามากยิ�งขึ�น เนื�องจากมาตรการต่าง ๆ นั�นทำให้ประชาชนเสียผลประโยชน์
                                       152
            และทำให้ความเหลื�อมล�ำสูงขึ�น  ดังนั�น สิ�งที�พิรรคซิริซ่าเสนอ จึงเป็นปฏิิกริยาต่อเสรีนิยมใหม่และการกระทำ
            ดังกล่าวของภาครัฐกรีซและสหภาพิยุโรป ซึ�งเป็นการต่อต้านนโยบัายรัดเข็มขัด และแสดงตนเป็นทางเลือกทางการ

            เมืองใหม่ที�มีความเป็นการเมือง สิ�งที�ซิริซ่าทำจึงเป็นสร้างขั�วทางการเมืองขึ�นมาอีกครั�งจากสภาวะหลังการเมือง
            และหลังประชาธิ์ิปไตย ที�สนับัสนุนให้ตัวแสดงทางการเมือง—ซึ�งในที�นี�คือประชาชน—นั�นมีความตื�นตัวทางการเมือง

            และสื�อสารกับัสังคมว่าสภาวะที�เป็น “ตรงกลาง” ทางการเมืองอย่าง อำนาจนำของเสรีนิยมใหม่นั�นเป็นปัญหา
            และทำให้กรีซและประชาชนนั�นเดือดร้อน ในจุดนี� ซิริซ่าจึงได้สวมบัทบัาทในฐานะที�เป็นพิรรคการเมืองที�เป็น

            ตัวแทนในการต่อสู้ทางสังคมโดยการสถาปนาขั�วตรงข้ามทางการเมืองที�เป็น “พวกเรีา ปะที่ะ พวกเขา” ขึ�น

            โดย “พวกเรีา” นั�นหมายถึงเหยื�อของเสรีนิยมใหม่ และโลกาภิวัตน์ เช่น การแปรรูปองค์กรเป็นเอกชน หรือการ
            ลดบัทบัาทของรัฐในการควบัคุมกฎเกณีฑ์์ต่าง ๆ ของตลาด เช่น กลุ่มแรงงาน กลุ่มเปราะบัางทางเศูรษฐกิจ หรือ

            กลุ่มคนรุ่นใหม่ ส่วน “พวกเขา” นั�นหมายถึง ผู้ที�กุมอำนาจ ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มชนชั�นสูง สถาบัันทางการเมืองต่าง ๆ
            พิรรคการเมืองในระบับัสองพิรรคอย่าง ND และ PASOK กลุ่มธิ์นาคาร หรือพิวกคณีาธิ์ิปัตย์ 153

                   การสร้างคู่ตรงข้ามในลักษณีะนี� จึงมีความคล้ายคลึงกันมากในกรณีีของพิรรคโปเดมอสของสเปน ไม่ว่าจะ

            เป็นชุดของคำในการเกิดปรากฏิการณี์การครองอำนาจนำของเสรีนิยมใหม่ สภาวะหลังการเมืองและหลังประชาธิ์ิปไตย
            และการใช้นโยบัายรัดเข็มขัดของภาครัฐต่อประชาชน และตามมาด้วยการตอบัโต้ของประชาชนในรูปแบับัของ

            การเคลื�อนไหวทางสังคมโดยการชุมนุมประท้วง ทำให้เห็นถึงตัวแบับัที�คล้ายกันในปรากฎการณี์ทางการเมืองใน

            ลักษณีะนี� แน่นอนว่าวิกฤตเศูรษฐกิจครั�งใหญ่ และการสูญเสียความเชื�อมั�นของรัฐและสถาบัันทางการเมืองนั�น
            เป็นบัรรยากาศูที�เอื�อให้เกิดปรากฏิการณี์ประชานิยม ดังที�เคยเกิดขึ�นมากมายในยุโรป  และเคยถูกมองว่าเป็น
                                                                                       154
                                                                             155
            เสมือนโรคร้าย ที�บั่อนทำลายประชาธิ์ิปไตย และเสถียรภาพิของสหภาพิยุโรป  แต่ในอีกแง่มุมหนึ�งนั�น ประชานิยม
            ดังที�ได้กล่าวไปว่าสามารถเป็นได้ทั�งการแก้ไข และเป็นได้ทั�งภัยคุกคามของประชาธิ์ิปไตย  ด้วยความที�ในแง่หนึ�ง
                                                                                       156
            ประชาชนก็เป็นส่วนหนึ�งของประชาธิ์ิปไตย แต่การใช้เพิียงเสียงข้างมากของประชาชนเป็นตัวตัดสินเพิียงอย่างเดียว

            ก็เป็นการละเลยคุณีค่าอื�น ๆ ของประชาธิ์ิปไตยไปด้วยเช่นกัน
                   ดังนั�น ในสถานการณี์วิกฤตที�ปะทุขึ�นในกรีซหลังปี 2008 นั�น จึงเป็นโอกาสของประชานิยมที�จะเกิดขึ�น

            ซิริซ่าจึงใช้โอกาสนั�นเช่นกัน แต่เป็นการตีความการเป็นประชานิยมใหม่ที�ไม่ใช่ประชานิยมในฝ่่ายขวา แต่เป็น

            ประชานิยมที�พิยายามรวบัรวมความต้องการของประชาชนเพิื�อที�จะตอบัสนองความต้องการนั�น โดยใช้วิถีทางที�เป็น
            ประชาธิ์ิปไตยมากขึ�น โดยการประกาศูต่อต้านนโยบัายและแนวทางที�ขัดต่อผลประโยชน์ของประชาชน เพิื�อที�จะ

            รวบัรวมเสียงของประชาชนในการเข้าสู่อำนาจ และแสดงตนเป็นตัวแทนของประชาชน โดยอ้างอำนาจอธิ์ิปไตย



            152  Markou, ‘The Rise of Inclusionary Populism in Europe’, 56.
            153  Katsambekis, ‘The Populist Radical Left in Greece’, 27.
            154  Yannis Stavrakakis, ‘Populism, Anti-Populism and Democracy’, Political Insight 9, no. 3 (1 September 2018): 33–35,
            https://doi.org/10.1177/2041905818796577.
            155  Giorgos Katsambekis and Yannis Stavrakakis, ‘Populism, Anti-Populism and European Democracy: A View
            from the South’, openDemocracy, 23 July 2013, https://www.opendemocracy.net/en/can-europe-makeit/populism-an-
            ti-populism-and-european-democr/.
            156  Mudde and Kaltwasser, Populism in Europe and the Americas, 16.
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55