Page 49 - kpiebook66004
P. 49
49
ในช่วงปี 2004 เป็นต้นมานั�น SYN ก็ได้มีส่วนร่วมในการต่อสู้ที�เชื�อมโยงกับักลุ่มคนอายุน้อย หรือคนรุ่นใหม่
ในยุคสมัยนั�น ซึ�งการเคลื�อนไหวและอุดมการณี์นั�นมีลักษณีะต่อต้านขบัวนการโลกาภิวัตน์ การสนับัสนุน
การชุมนุมประท้วงการออกนอกระบับัของมหาวิทยาลัยโดยนักศูึกษาในปี 2006 - 2007 หรือการชุมนุมลุกฮือ
ของคนรุ่นใหม่ที�ต่อต้านเผด็จการอำนาจนิยมในปี 2008 ซึ�งมีการเสียชีวิตของเด็กอายุเพิียง 15 ปี โดยฝ่ีมือของ
148
เจ้าหน้าที�ตำรวจกลางกรุงเอเธิ์นส์ สิ�งเหล่านี�จึงเป็นยุทธิ์ศูาสตร์ของซิริซ่าตั�งแต่การพิัฒนาก่อตัวของพิรรค จนถึง
การเกิดวิกฤตเศูรษฐกิจ และการชุมนุมใหญ่ในปี 2011 ในการเชื�อมโยงตัวของพิรรคพิรรคกับัผู้ที�ได้รับัผลกระทบั
จากเสรีนิยมใหม่ ไม่ว่าจะอยู่ในชนชั�น หรือสถานภาพิทางสังคมใด ๆ นอกจากนี� ยังมีสมาชิกของซิริซ่าเข้าร่วม
149
ในการเคลื�อนไหวต่าง ๆ ด้วย การปรับัตัวที�ค่อนข้างยืดหยุ่นของซิริซ่าจึงทำให้พิรรคสามารถสอดแทรกเข้าไป
อยู่ในการต่อสู้ของประชาชนได้โดยไม่มีข้อจำกัด จึงทำให้ซิริซ่าเป็นพิรรคการเมืองข้ามชนชั�น ที�ไม่ได้ยึดติดว่า
ต้องเป็นพิรรคการเมืองของชนชั�นนายทุนหรือชนชั�นแรงงาน ตามการแบั่งขั�วตรงตามเดิมของฝ่่ายซ้ายแบับั
มาร์กซิสม์ หากแต่เป็นการพิุ่งไปที�กลุ่มเป้าหมายที�เป็นประชาชนในทุก ๆ ชนชั�นและสถานภาพิ อีกทั�งยังพิยายาม
ให้การเคลื�อนไหวทางสังคมต่าง ๆ เป็นตัวชี�นำพิรรค มากกว่าจะเป็นการใช้พิรรคนำมวลชน ดังนั�น สิ�งที�ซิริซ่าทำ
คือการดึงความสนใจให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองมากขึ�น จากนั�นจึงปรากฏิตัวในพิื�นที�ทางการเมือง
ทั�งในสภาและในสื�อเพิื�อให้เกิดความรู้จักมักคุ้น และสุดท้ายจึงเป็นการเกาะกระแสไปกับัปัญหาวิกฤต เพิื�อสร้าง
บัทบัาทในการเสนอแนวทางแก้ไขปัญหา และหวังผลในการชนะการเลือกตั�ง 150
ความพิยายามของซิริซ่าจึงเป็นการพิยายามสร้างขั�วทางการเมือง (polarisation) ขึ�นอีกครั�งในสังคมกรีก
เนื�องจากการเมืองในสังคมกรีกตั�งแต่ปี 1974 มานั�น อยู่ในสภาวะที�หยุดนิ�งทางการเมือง หรือเป็นสภาวะ
หลังการเมือง และหลังประชาธิ์ิปไตยในคำของ มูฟ ที�ไม่ว่าจะเปลี�ยนแปลงรัฐบัาลด้วยการเลือกตั�งอย่างไร แต่
สุดท้ายผลลัพิธิ์์ที�ได้ก็ไม่ต่างกัน คือต้องยอมรับัการขยายตัวและการครองอำนาจนำของเสรีนิยมใหม่ ไม่ว่าจะ
ใช้การเข้าสู่อำนาจแบับัประชาธิ์ิปไตยแบับัตัวแทนหรือไม่ก็ตาม ความชอบัธิ์รรมที�อ้างถึงของรัฐมักเป็นการกล่าวถึง
การทำเศูรษฐกิจให้ดี ซึ�ง Grigoris Markou ได้เสนอว่า การเมืองกรีกร่วมสมัยนั�นกลายเป็นฉันทามติของสภาวะ
ที�เป็นการเมืองแบับัหลังประชาธิ์ิปไตย ที�สถาปนาการเมืองแบับั “อยู่ตรงกลาง” โดยมีความร่วมมือของสองพิรรค
(คือ ND และ PASOK) และองคาพิยพิของเสรีนิยมใหม่เป็นตัวขับัเคลื�อน ในที�นี�จึงเห็นได้ว่า แม้ว่า ND และ
151
PASOK จะอยู่คนละเฉดทางอุดมการณี์ทางการเมือง ซึ�งเป็นขวากลาง และซ้ายกลาง ตามลำดับั แต่จุดรวมของ
ทั�งสองนั�นคือ มีความ “อยู่ตรงกลาง” ร่วมกัน ซึ�งสิ�งที�ทั�งสองพิรรคมีร่วมกันนี� ทำให้ทั�งสองพิรรค ไม่ว่าจะโดย
ความตั�งใจหรือไม่ สร้างสภาวะตรงกลางทางการเมืองที�ไม่มีความเป็นการเมือง เพิราะทำให้ระบับัการเมือง
ไม่สามารถถูกเปลี�ยนแปลงได้ด้วยวิถีทางทางการเมือง เช่น การเลือกตั�งเป็นต้น พิรรคซิริซ่าจึงเข้ามาเพิื�อมี
เป้าหมายในการทำให้การเมืองมีความเป็นการเมืองอีกครั�ง
อย่างไรก็ดี แม้ว่าสภาวะนี�ดำรงอยู่มาได้เป็นเวลานาน แต่เมื�อเกิดวิกฤตเศูรษฐกิจ ทำให้ประชาชน
เกิดความไม่พิอใจ เนื�องจากนโยบัายรัดเข็มขัดก็ดี การลดงบัประมาณีต่าง ๆ ก็ดี หรือการแปรรูปเป็น
148 Katsambekis, ‘The Populist Radical Left in Greece’, 26.
149 Ibid.
150 Ibid.
151 Markou, ‘The Rise of Inclusionary Populism in Europe’, 56; Grigoris Markou, ‘The Left-Wing Populist Revolt in
Europe: SYRIZA in Power’, Identities: Journal for Politics, Gender and Culture 14 (1 June 2017): 149,
https://doi.org /10.51151/identities.v14i1-2.326.