Page 48 - kpiebook66004
P. 48
48
ทำให้ PASOK นั�นเสียคะแนนนิยม แต่ก็ยังสามารถรวบัรวมเสียงส่วนมากไว้ได้ ทำให้เกิดความโกรธิ์ของประชาชนกรีก
จำนวนมาก จนเกิดแรงกดดันจนทำให้รัฐบัาลอยู่ไม่ได้ Papandreouจึงต้องลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
ทำให้ต้องเปิดทางร่วมรัฐบัาลกับัพิรรค ND และพิรรค LAOS (Popular Orthodox Rally) ซึ�งเป็นพิรรคฝ่่ายขวา
สุดโต่งขนาดเล็ก ในปี 2011 โดยมี Lucas Papademos ผู้ที�ไม่ได้เป็นสมาชิกรัฐสภา ได้รับัการแต่งตั�งเป็นนายก
144
รัฐมนตรี แน่นอนว่าระหว่างนี�ได้เกิดการชุมนุมประท้วงใหญ่ในนามของ aganaktismenoi หรือ ‘squares
movement’ ที�เป็นการรวมกลุ่มของผู้ไม่พิอใจในนโยบัายรัดเข็มขัดดังกล่าว คล้ายกับักรณีีของสเปน จึงทำให้
รัฐบัาลต้องเผชิญกับัความยากลำบัากเป็นอย่างมาก
ซึ�งการชุมนุม ‘squares movement’ นั�นเกิดขึ�นหลังจากการชุมนุมใหญ่ indignados ในสเปนเพิียงไม่กี�วัน
จึงกล่าวได้ว่าเป็นการชุมนุมในลักษณีะเดียวกัน ที�มีข้อเรียกร้องคล้ายกันในเวลาพิร้อม ๆ กัน นอกจากนี� ยังมี
โครงสร้างของผู้เข้าชุมนุมที�คล้ายกัน คือเป็นมวลชนกลุ่มรากหญ้าที�รวมตัวกันแบับัฉับัพิลัน โดยทราบัจากสื�อที�
นำเสนอข่าว เพิื�อต่อต้านนโยบัายรัดเข็มขัด การเรียกร้องนั�นเป็นไปในนามของ “ประชาชน” ที�ถูก “ชนชั�นสูง”
หรือชนชั�นนำผู้มีอำนาจนั�นหักหลัง ในการที�ทำให้เศูรษฐกิจของกรีซนั�นพิังทลายลง จึงเป็นการแสดงออกถึงความ
ไม่พิอใจและโกรธิ์เกรี�ยวในการบัริหารจัดการรัฐในวงกว้าง ทำให้เกิดการตั�งคำถามกับัระบับัสองพิรรคในกรีซ
ว่าระบับัการเมืองแบับัดั�งเดิมที�เป็นอยู่นี� ทำให้ประเทศูเกิดวิกฤตดังกล่าว และยังทำให้ประชาชนเลิกศูรัทธิ์าใน
การเมืองระบับัรัฐสภา และสถาบัันทางการเมืองและสถาบัันทางสังคมต่าง ๆ เช่น สหภาพิแรงงาน เป็นต้น
การชุมนุมนี�จึงเป็นการสะท้อนถึงวิกฤตของความชอบัธิ์รรมของระบับัการเมืองของกรีซทั�งระบับั 145
ดังนั�น การชุมนุมที�มีข้อเรียกร้อง/ข้อเสนอที�ปฏิิเสธิ์ระบับัการเมืองแบับัรัฐสภา และสถาบัันทางการเมือง
ย่อมยืนอยู่ตรงข้ามกับัพิรรคการเมืองที�เป็นสถาบัันทางการเมืองที�สำคัญอย่างหนึ�ง เนื�องจากความหมดศูรัทธิ์า
และไม่เชื�อว่าการเมืองแบับัตัวแทนจะสามารถตอบัโจทย์ ซ�ำยังนำพิาประเทศูไปสู่วิกฤตมากกว่าเดิม แต่
พิรรคซิริซ่านั�นยังเป็นพิลังจากสถาบัันรัฐสภาเพิียงพิรรคเดียวที�สนับัสนุนการเคลื�อนไหว ‘square’ อย่างเปิดเผย
146
ซึ�งในจุดนี�เอง ทำให้ซิริซ่านั�นพิยายามประพิฤตตัวเป็นพิรรคการเมืองลูกผสม ที�พิยายามจะขับัเคลื�อนการเมือง
ในสภาและการเมืองในท้องถนนไปด้วยกัน เพิื�อบัรรลุเป้าหมายทางการเมือง ด้วยยุทธิ์ศูาสตร์แบับัประชานิยม
โดยการใช้ความต้องการของประชาชนเป็นแรงผลักดันในการได้รับัความนิยม เพิื�อใช้ประชานิยมเป็นกลไกในการ
สร้างประชาธิ์ิปไตย ในแง่ที�เป็นประชานิยมแบับัควบัรวม (inclusionary populism) ไม่ใช่เป็นประชานิยมแบับั
แบั่งแยก (exclusionary populism) ที�สร้างศูัตรูแบับัประชานิยมฝ่่ายขวา และสร้างความเชื�อมั�นในระบับัรัฐสภา
147
อีกครั�ง
4.2 การพัฒินาเป็นพรรคการเมือุงที�มีลักษณ์ะเป็นประช้านิยมฝ่่ายซ้้าย
แรกเริ�มเดิมที พิรรคซิริซ่าได้ก่อตั�งในปี 2004 ภายใต้การรวมกลุ่มของพิรรคการเมืองและกลุ่มการเมือง
นอกสภาที�เป็นฝ่่ายซ้าย ซึ�งแรกเริ�มนั�นคือกลุ่ม Coalition of Left, Movements and Ecology (SYN) ซึ�งต่อมาได้
ทำการเปลี�ยนแปลงภาพิลักษณี์ของตนเองเพิื�อปรับัตัวให้ออกห่างจากความเป็น Eurocommunism เพิื�อสร้าง
ภาพิลักษณี์ใหม่ที�เป็นซ้ายสุดขั�ว และสนับัสนุนการเคลื�อนไวที�ต่อต้านเสรีนิยมใหม่ ซึ�งตลอดเวลาที�ผ่านมา
144 Ibid.
145 Ibid., 25.
146 Ibid.
147 Grigoris Markou, ‘The Rise of Inclusionary Populism in Europe: The Case of SYRIZA’, Contemporary South-
eastern Europe 4, no. 1 (2017): 54–55.