Page 51 - kpiebook66004
P. 51

51



            ของประชาชนที�ประชาชนฝ่ากไว้กับัตนในการตัดสินใจต่าง ๆ ทางการเมือง การใช้ยุทธิ์ศูาสตร์นี�ในการเข้าสู่

            อำนาจของซิริซ่า จึงเป็นการชี�ให้เกิดการตีความใหม่ต่อกรอบัคิดของประชานิยม ว่าประชานิยมสามารถเป็นกลไก
                                                                                            157
            ที�ท้าทายต่อสภาวะที�ไม่เป็นการเมืองหรือสภาวะหลังประชาธิ์ิปไตยโดยเฉพิาะในยุโรปได้  หรืออีกแง่หนึ�ง
            กล่าวคือ ประชานิยมนั�นเป็นกลไกในเชิงชาตินิยม— ที�มีการตีความชาติใหม่ ในลักษณีะที�ถือว่าชาตินั�นประกอบั

            ด้วยประชาชน— ที�ต่อต้านเสรีนิยมใหม่ที�นำมาซึ�งบัรรษัทข้ามชาติ การลดอำนาจของรัฐในการควบัคุมตลาด
            ประชานิยมฝ่่ายซ้ายจึงต่อต้านโลกาภิวัตน์และภูมิภาคนิยม (regionalism) การรวมกลุ่มทางภูมิภาคไปโดยปริยาย

            เพิราะกลุ่มทางภูมิภาคนั�นสามารถใช้ที�ประชุมและมติในการกดดันให้เกิดการตัดสินใจของรัฐหนึ�ง ๆ ที�เป็นสมาชิก

            และสามารถนำมาซึ�งการขัดผลประโยชน์ของประชาชนในรัฐได้ ในแง่นี� กรณีีของกรีซที�ถูกครอบังำด้วยอิทธิ์ิพิล
            ของสหภาพิยุโรปซึ�งต้องการทำให้ภูมิภาคมีความเป็นเสรีนิยมใหม่มากขึ�น จึงเป็นผลลบัต่อผลประโยชน์ของประชน

            ในกรีซ ดังนั�น การเอาประชาชนเป็นที�ตั�งของประชานิยมฝ่่ายซ้ายในแง่นี� จึงหลีกเลี�ยงไม่ได้ที�จะเป็นชาตินิยมไป

            ด้วยควบัคู่กันไป แม้ว่าอาจเป็น “ชาตินิยมฝ่่ายซ้าย” ด้วยก็ตามที
                   การตีความใหม่ของประชานิยมฝ่่ายซ้ายของซิริซ่าจึงไม่ใช่ประชานิยมที�พิยายามผลักคนกลุ่มต่าง ๆ

            ออกเป็นศูัตรู แต่เป็นประชานิยมที�เชื�อมโยงความต้องการของประชาชนที�แตกต่างและหลากหลายเข้าด้วยกัน

            โดยการมองว่าความต้องการต่าง ๆ ของประชาชนทุก ๆ คน ทุก ๆ กลุ่มนั�นมีค่าเท่าเทียมกัน ไม่ว่าจะเป็นกลุ่ม
                                                                                                           158
            นักเรียนนักศูึกษาที�มีปัญหา กลุ่มแรงงาน กลุ่มสิ�งแวดล้อม กลุ่มความหลากหลายทางเพิศู หรือกลุ่มผู้ลี�ภัยก็ตาม
            สิ�งเหล่านี�จึงตรงกับัสิ�งที�ลาคลาวเรียกว่า เป็นห่วงโซ่แห่งความเท่าทียม ที�เป็นการมองว่า ความต้องการของทุก ๆ กลุ่มนั�น
            เท่าเทียมกันและต้องได้รับัการสะท้อนและแก้ไขโดยอำนาจนำของประชาชนที�แท้จริง  เป้าหมายของไซริซ่าจึง
                                                                                      159
            เป็นการสร้างความเป็นปึกแผ่นทางสังคมใหม่ ที�รวบัรวมคนทุกสถานภาพิ ทุกชนชั�นรวมถึงกลุ่มชายขอบัที�ถูกลืม 160

                   กระนั�นแล้วก่อนเกิดวิกฤตเศูรษฐกิจ แม้ว่าซิริซ่าจะเป็นที�รู้จักในการเคลื�อนไหวทางสังคม แต่ก็ยังไม่ได้
            มีเสียงเป็นส่วนใหญ่ในระดับัชาติ แน่นอนว่าแม้จะได้รับัความนิยมในกลุ่มที�ต้องการเปลี�ยนแปลง แต่คนที�อยู่ใน

            ระดับักลางยังคงสนับัสนุนพิรรค ND และ PASOK แต่เมื�อ วิกฤตหนักขึ�นและลุกลามไปยังวงกว้าง โดยเฉพิาะ

            คนที�อยู่ในระดับักลางมากขึ�น คนส่วนมากก็เริ�มเห็นปัญหาขบัวนการต่อต้านและความต้องการที�จะเปลี�ยนแปลง
            จึงมีมากขึ�น เป็นจุดเปลี�ยนที�แนวทางแบับัพิรรคซิริซ่าได้รับัการสนับัสนุน และสามารถเข้าสู่อำนาจได้ในที�สุด

                   จะเห็นได้ว่า แม้ว่าซิริซ่าจะพิยายามเป็นประชานิยมแบับัควบัรวม มากกว่าผลักกลุ่มอื�นออกไปเป็นศูัตรู

            แต่ก็ยังมีส่วนที�เป็น “พิวกเขา” ซึ�งก็คือกลุ่มชนชั�นสูง และกลุ่มสถาบัันทางการเมืองต่าง ๆ ซึ�งการสร้างคู่ตรงข้ามนี�
            เป็นคู่ตรงข้ามแบับั agonistic ซึ�งเป็นคู่ตรงข้ามที�ไม่ทำลายล้างกัน จากการที�ซิริซ่านั�นยังคงเล่นการเมืองในสภาอยู่

            และพิยายามจะแสดงตนว่าเป็นสถาบัันทางการเมืองที�ไม่เหมือนพิรรคอื�น แต่เป็นพิรรคการเมืองที�เป็นสถาบััน

            ทางการเมืองที�เป็นตัวแทนของคนกลุ่มอื�น ๆ นอกสภาและกลุ่มชายขอบัอื�น ๆ ในสังคมด้วย จึงเป็นพิรรคการเมือง
            ที�อาจเรียกได้ว่ามีความเป็นพิรรคการเมืองลูกผสมก็ว่าได้ ซึ�งพิรรคการเมืองที�ใช้ยุทธิ์ศูาสตร์ประชานิยมฝ่่ายนี�มักจะ

            เป็นกัน เพิื�อเปิดทางให้เกิดความยืดหยุ่นและมีช่องทางในการเข้าสู่อำนาจในระบับัได้ไปพิร้อมกัน



            157  Yannis Stavrakakis, ‘Populism in Power: Syriza’s Challenge to Europe’, Juncture 21, no. 4 (2015): 274–76,
            https://doi.org/10.1111/j.2050-5876.2015.00817.x.
            158  Katsambekis, ‘The Populist Radical Left in Greece’, 27.
            159  Laclau, ‘Populism: What’s in a Name?’, 37–39.
            160  Katsambekis, ‘The Populist Radical Left in Greece’, 27.
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56