Page 54 - kpiebook66004
P. 54
54
ในการเลือกตั�งเดือนพิฤษภาคม 2012 ซิริซ่าได้รับัเลือก 52 ที�นั�ง จาก 300 ที�นั�ง ซึ�งได้คะแนนเป็น
ลำดับัที�สอง รองจาก ND ซึ�งได้ 108 ที�นั�ง และ PASOK ลำดับัที�สามได้ 41 ที�นั�ง นับัเป็นความสำเร็จของซิริซ่า
ในการดำเนินการยุทธิ์ศูาสตร์ประชานิยมฝ่่ายซ้ายดังที�ได้กล่าวไป แต่ทว่าการเลือกตั�งครั�งนี� ไม่สามารถทำให้
รัฐสภากรีกนั�นจัดตั�งรัฐบัาลได้ เนื�องจากเสียงมีความแตกกระจาย และทลายภูมิทัศูน์การเมืองของกรีกที�มีสองพิรรค
ในเมื�อไม่สามารถจัดตั�งรัฐบัาลได้ รัฐธิ์รรมนูญของกรีซนั�นกำหนดให้อำนาจของประธิ์านาธิ์ิบัดีสามารถยุบัสภา
และสั�งให้มีการเลือกตั�งใหม่ได้ภายใน 30 วัน จึงเกิดการเลือกตั�งอีกครั�งในเดือนถัดมาคือเดือนมิถุนายน 2012
ซึ�งผลปรากฏิว่า ซิริซ่ายังคงเป็นที�สอง แต่ได้ที�นั�งเพิิ�มถึง 17 ที�นั�งเป็น 71 ที�นั�ง แต่ขณีะที� ND ก็ได้ที�นั�งถึง 129
ที�นั�งจึงสามารถจัดตั�งรัฐบัาลผสมได้ ส่งผลให้ซิริซ่านั�นเป็นพิรรคฝ่่ายค้านที�ได้คะแนนเป็นอันดับัที�สอง
ความพิ่ายแพิ้ในการเลือกตั�งของซิริซ่าในปี 2012 นั�นไม่ได้ถือว่าเป็นความล้มเหลวเสียทีเดียว และยังเป็น
พิลวัตขาขึ�น เพิราะซิริซ่าได้คะแนนเพิิ�มขึ�นจากการเป็นพิรรคเล็กที�ได้ที�นั�งเพิียง 13 ที�นั�ง ในปี 2009 สามารถ
ก้าวเข้ามาได้คะแนนเสียงที�เพิิ�มขึ�นถึง 58 ที�นั�ง ในเวลาเพิียง 3 ปี การปรับักระบัวนการของพิรรคภายใต้การนำ
ของ Tsipras จึงเป็นการสร้างแนวหน้าทางการเมืองใหม่ระหว่างประชาชนผู้ได้รับัผลกระทบัที�ต่อต้านนโยบัายรัดเข็มขัด
และข้อตกลงฯ กับั ชนชั�นสูง/ผู้สนับัสนุนข้อตกลงฯ ทำให้เกิดความคิดเรื�องห่วงโซ่แห่งความเท่าเทียมของประชาชน
และที�สำคัญที�สุดคือการทำให้การเมืองกลับัมามีความเป็นการเมือง โดยการทำลายสภาวะการเมืองแบับัสองพิรรค
ND/PASOK ลง และเสนอแนวทางที�ทำให้การเมืองเป็นประชาธิ์ิปไตยที�ให้ผลประโยชน์กับัประชาชนมากขึ�น
มากไปกว่านั�น ซิริซ่ายังทำหน้าที�เป็นฝ่่ายค้านที�เข้มแข็ง ทำหน้าที�ในการตรวจสอบั และพิยายามยับัยั�ง
นโยบัายรัดเข็มขัดต่าง ๆ ที�เป็นผลพิวงจากข้อตกลงการปรับัแผนเศูรษฐกิจกับัสหภาพิยุโรปเพิื�อที�จะสร้างผลงาน
170
และวิสัยทัศูน์ในการเลือกตั�งครั�งต่อไป จากนั�นจึงมีการเลือกตั�งสภายุโรปในปี 2014 ซึ�งซิริซ่าก็ยังใช้แนวหาเสียง
ในลักษณีะเดิม ที�ใช้คำในลักษณีะ “เราจะไม่ทน” หรือ “ลงคะแนนเพิื�อให้เขาออกไป” ในฐานะที�เราเป็น “ประชาชน”
ที�จะต้องรวมตัวกันเพิื�อขับัไล่พิวกที�เลวทราม เช่น พิวกสถาบัันทางการเมือง—ผู้มีอิทธิ์ิพิลทางการเงิน เช่น ธิ์นาคาร
หรือทุนอสังหาริมทรัพิย์—สื�อที�ชี�นำออกไป การหาเสียงในครั�งนี� จึงมีส่วนที�เชื�อมโยงไปสู่การเลือกตั�งทั�วไปของกรีซ
171
ในครั�งต่อไป ซึ�งก็คือในปี 2015 ซิริซ่าได้กล่าวว่าพิลังของประชาชนมีเป้าหมายในการลดปัญหาวิกฤตของ
มนุษยชาติ ทำให้ความต้องการได้รับัการตอบัสนอง ปรับัปรุงภาคการผลิต ฟ้�นฟูประชาธิ์ิปไตย กระจายความมั�งคั�งใหม่
และขยายสิทธิ์ิของส่วนรวม ซิริซ่ายังหวังใช้เวทีของสภายุโรปในการกล่าวให้โลกและยุโรปเห็นถึงปัญหาของวิกฤต
เศูรษฐกิจและนโยบัายรัดเข็มขัดที�สหภาพิยุโรปผลักดันให้กับักรีซ นอกจากนี�ยังได้ชี�ให้เห็นถึงปัญหาอื�น ๆ ที�ยัง
รุมเร้าอยู่ เช่น การเหยียดเชื�อชาติ และความเป็นเผด็จการ แสดงให้เห็นถึงความพิยายามในการรวบัรวมกลุ่ม
ต่าง ๆ ให้มาอยู่ในห่วงโซ่ที�เท่าเทียมกัน
หลังจากการเลือกตั�งสภายุโรปที�ค่อนข้างประสบัความสำเร็จ ความหวังของซิริซ่าจึงกลับัมาอีกครั�ง และ
เข้าสู่ช่วงการเลือกตั�งทั�วไปในปี 2015 ซิริซ่าจึงได้ขยับัมาพิูดเรื�องประชาชนเป็นคนส่วนใหญ่ Tsipras ผู้ท้าชิงตำแหน่ง
นายกรัฐมนตรี ได้กล่าวว่าการต่อสู้ครั�งนี�เป็นการต่อสู้ระหว่าง ประชาชน 99% กับั ชนชั�นสูง 1% ที�กัดกินผลประโยชน์
ดังนั�น จึงต้องให้ประชาชนมีอำนาจอธิ์ิปไตยอย่างแท้จริง ถือเป็นการกล่าวถึงปัญหาในกรีซเชื�อมโยงกับัปัญหา
172
ในประเทศูอื�น ๆ ทั�วโลก และการเคลื�อนไหวทั�วโลกสากลอย่าง Occupy Wall Street
170 Katsambekis, ‘The Populist Radical Left in Greece’, 33.
171 Ibid.
172 Ibid., 34.