Page 52 - kpiebook66004
P. 52

52



                   4.3 จัุดเปลี�ยน (nodal point) ที�ทำให้เกิดประช้านิยมแนวิใหม่ในกรีซ้ : ห่วิงโซ้่แห่งควิามเท่าเทียม

                   พิรรคซิริซ่าภายใต้การนำของ Alexis Tsipras ตั�งแต่ปี 2009 ได้เล็งเห็นแนวทางที�ปรับัตัวให้พิรรคซิริซ่า
            ได้ค่อย ๆ ได้รับัความนิยมและเข้ามามีอำนาจ Tsipras ได้เริ�มเข้าลงเล่นการเมืองจากการลงสมัครรับัเลือกตั�ง

            เป็นนายกเทศูมนตรีของเมืองเอเธิ์นส์ แม้จะไม่ได้รับัชัยชนะ แต่เขาก็ได้รับัเลือกให้เป็นผู้นำของกลุ่ม SYN ในปี

            2008 และเป็นผู้นำของซิริซ่าในเวลาต่อมา ด้วยการเป็นผู้นำพิรรคการเมืองที�อายุน้อยที�สุดตั�งแต่ปี 1931 คืออายุเพิียง
            33 ปี Tsipras ได้ดำรงตำแหน่งผู้นำของพิรรคในช่วงของวิกฤตเศูรษฐกิจพิอดี จึงเป็นช่วงเวลาที�เขาได้ปรับั

            แนวทางนโยบัาย ให้เข้ากับัสถานการณี์ ซึ�งเกี�ยวข้องกับัความเดือดร้อนของคนทุก ๆ กลุ่มนโยบัายรักเข็มขัดที�

            ถูกใช้อย่างแพิร่หลายในช่วงวิกฤตเศูรษฐกิจ ซิริซ่าโดยการนำของ Tsipras จึงเลือกที�มองความเดือดร้อนและ
            ความต้องการของประชาชนทุก ๆ กลุ่ม ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มคนอายุน้อย กลุ่มแรงงาน สหภาพิแรงงาน กลุ่มที�ถูก

            จ้างงานอย่างเปราะบัาง (precarious workers) กลุ่มผู้ประกอบัการรายย่อย หรือแม้แต่กลุ่มอัตลักษณี์
                               161
            กลุ่มชายขอบัต่าง ๆ ที�ได้รับัผลกระทบัทั�งทางตรงและทางอ้อม แม้จะไม่ใช่เรื�องเศูรษฐกิจที�เป็นผลกระทบั
            โดยตรง แต่ซิริซ่าก็ถือว่าความต้องการของประชาชนนั�น เป็นความต้องการที�เท่าเทียมกันหมด สิ�งที�ซิริซ่าทำจึง

            เป็นการสร้าง “ห่วงโซ่แห่งความเท่าเทียม” ในสังคมกรีก และสามารถได้รับัความนิยมจากทุก ๆ กลุ่มที�มี
            ความเดือดร้อนและมีความต้องการ ทำให้พิวกเขารู้สึกว่า พิรรคการเมืองอย่างซิริซ่า เป็นตัวแทนเสียงของเขา

            จึงทำให้เกิดลักษณีะแบับัประชานิยมขึ�น

                   ซิริซ่าจึงได้ใช้โอกาสในวิกฤตเศูรษฐกิจนี�ในการสร้างห่วงโซ่แห่งความเท่าเทียมขึ�นท่ามกลางความต้องการ
            ที�หลากหลายในสังคมกรีก โดยการใช้วิธิ์ีการหาเสียงอย่าง “รัฐบัาลโดยฝ่่ายซ้าย” ซึ�งเป็นการรวมกลุ่มของพิรรค

            ฝ่่ายซ้ายที�แยกตัวออกจากพิรรค PASOK โดยเป็นการหาเสียงเพิื�อรวมเสียงของพิรรคฝ่่ายซ้ายเพิื�อจัดตั�งรัฐบัาลผสม
            โดยการพิยายามรวบัรวมกลุ่มต่าง ๆ ให้กลายเป็น “ประชาชน” ที�เป็นองค์รวมเดียว เป็น “ประชาชน” ที�เดือดร้อน

            ที�ได้รับัผลกระทบัจากวิกฤตเศูรษฐกิจและนโยบัายรัดเข็มขัดจากรัฐ “ประชาชน” คนธิ์รรมดาสามัญที�อยู่ในห่วงโซ่

            แห่งความเท่าเทียม ที�ต้องต่อสู้กับักลุ่มชนชั�นนำที�ทำข้อตกลงกับัสหภาพิยุโรป ที�เป็นพิวกหลังการเมือง/
            หลังประชาธิ์ิปไตย อย่างพิรรค PASOK และ ND “ประชาชน” เหล่านี�จึงต้องการที�จะให้เกิดการเปลี�ยนแปลง

            ทั�งนี�เพิื�อเป็นการขยายฐานของผู้มาใช้สิทธิ์ิ�เลือกตั�ง ให้ผู้มีสิทธิ์ิ�เลือกตั�งรู้สึกว่ามีความเป็นพิวกเดียวกับั “ประชาชน”

            เพิื�อชิงเสียงส่วนใหญ่ในการเลือกตั�งในปี 2012 ดังนั�น ไม่ว่าประชาชนผู้ที�ได้รับัผลกระทบัดังกล่าว จะอยู่ในกลุ่มใด
            ก็ถือว่าเป็น “ประชาชน” เหมือนกันหมด นี�จึงเป็นจุดเปลี�ยนที�ทำให้พิรรคซิริซ่าเป็นพิรรคตัวแทนของประชาชน

            เพิราะไม่ด้พิยายามกำหนดว่าเป็นตัวแทนของใคร แต่เป็นตัวแทนของทุกคน ซึ�งเป็นคนส่วนมาก  ซึ�งตรงนี�อาจ
                                                                                               162
            ทำให้ซิริซ่านั�นแตกต่างกับัปรากฎการณี์ประชานิยมที�เคยเกิดมาก่อนในประเทศูอื�น ๆ 163
                   ซิริซ่าได้ใช้ยุทธิ์ศูาสตร์ในการเข้าไปมีส่วนร่วมในการเคลื�อนไหวทางสังคมหลายกลุ่ม เช่น กลุ่มเคลื�อนไหว

                                                                                                           164
            เพิื�อสิ�งแวดล้อม กลุ่มเคลื�อนไหวเพิื�อต่อต้านการจ่ายค่าผ่านทาง กลุ่มแรงงาน ประสบัปัญหาการเลิกจ้าง ฯลฯ
            สิ�งเหล่านี�ทำให้กลุ่มที�เคลื�อนไหวทางสังคมต่าง ๆ ที�มีการชุมนุมประท้วง เพิื�อเรียกร้องและมีความต้องการที�
            แตกต่างกันไปนั�น รู้สึกว่าพิรรคซิริซ่าเป็นตัวแทนเสียงของพิวกเขา อย่างน้อย ๆ ก็ในด้านที�พิวกเขาต้องการเอง



            161  Ibid., 28.
            162  Ibid., 30.
            163  Ibid., 28–29.
            164  Ibid., 30.
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57