Page 47 - kpiebook66004
P. 47

47



            คล้ายกันทั�วโลกในปี 2011 ซึ�งอาจแตกต่างกับักรณีีของโปเดมอสที�แม้จะมีเค้ามาก่อนการชุมนุม แต่ก็ตั�งพิรรค

            หลังจากมีการเรียกร้องครั�งใหญ่ของประชาชน การจะทำความเข้าใจบัริบัททางการเมืองในส่วนนี� จึงต้องเข้าใจว่า
            การใช้การสื�อสารทางการเมืองของพิรรคการเมืองต่าง ๆ ในช่วงที�มีบัริบัททางการเมืองของกรีซหลังวิกฤตนั�น

            แตกต่างกันอย่างไร
                   แม้ว่าการเมืองของกรีซนั�นจะมีรากฐานมาจากระบับัประชาธิ์ิปไตยทางตรง แต่ในปัจจุบัันระบับัการเมือง

            ของกรีซนั�นเป็นการปกครองในระบัอบัประชาธิ์ิปไตยแบับัตัวแทนที�เป็นสาธิ์ารณีรัฐ กล่าวคือ มีประธิ์านาธิ์ิบัดีมา
            จากการเลือกของรัฐสภา ซึ�งรัฐสภานั�นก็มาจากการเลือกตั�งของประชาชน ประธิ์านาธิ์ิบัดีมีอำนาจในการแต่งตั�ง

            นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีอย่างเป็นทางการ ซึ�งทั�งนี�ขึ�นอยู่กับัเสียงของตัวแทนในสภา ซึ�งมาจากพิรรคการเมือง

            นั�นเอง ซึ�งกรีซนั�นเป็นระบับัการเมืองที�มีหลายพิรรค หลังจากการเปลี�ยนผ่านมาสู่ประชาธิ์ิปไตยในปี 1974 นั�น
            กรีซได้ถูกปกครองโดยพิรรคการเมืองที�สลับักันระหว่างขวากลางและซ้ายกลางอยู่เสมอ ความเป็นการเมือง

            จึงไม่ได้มีผลต่อการเปลี�ยนแปลงมากนัก นอกจากนั�นยังเป็นการสลับัขั�วไปมาในการดำรงตำแหน่งรัฐบัาล ระหว่าง
            พิรรคฝ่่ายขวากลางอย่าง ND (New Democracy) กับัพิรรคที�มีลักษณีะเป็นซ้ายกลางอย่าง PASOK (Panhellenic

            Socialist Movement) ขณีะที�การเวลาผ่านไปจากทศูวรรษ 1990 พิรรคทั�งสองได้ลดความชัดเจนในการเป็นขั�วซ้าย/
            ขวาลง เกิดสภาวะการเมืองในทางเลือกที�สาม คือไม่ได้มุ่งเน้นหลักการหรืออุดมการณี์ทางการเมือง เพิียงแต่มุ่งเน้น

            เศูรษฐกิจที�ดีสำหรับัทุกคนเท่านั�น ดังที�ได้กล่าวไปข้างต้น อีกทั�งยังสลับักันขึ�นสู่อำนาจ ไม่ว่าจะเป็นการอยู่ใน

            อำนาจแบับัพิรรคเดียว หรือรัฐบัาลผสม เรื�อยมาจนถึงปี 2015 143
                   แน่นอนว่า “ความเป็นการเมือง” นั�นถูกทำให้ลดลง ในแง่ของการต่อสู้แย่งชิง ซึ�งเป็นเรื�องปกติสำหรับั

            สังคมที�เข้าสู้สภาวะความเป็นประชาธิ์ิปไตย หรือสภาวะที�เรียกได้ว่า “ประชาธิ์ิปไตยได้ตั�งมั�นแล้ว” เพิราะหลังจาก
            กรีซได้เปลี�ยนผ่านมาเป็นประชาธิ์ิปไตยในปี 1974 การเปลี�ยนผ่านอำนาจรัฐนั�นเป็นไปอย่างสันติและตามกติกา

            ตามที�รัฐธิ์รรมนูญได้ระบัุไว้ ซึ�งหากมองดูผิวเผิน การเมืองของกรีซนั�นอยู่ในเกณีฑ์์ที�เป็นประชาธิ์ิปไตยตั�งแต่นั�นมา
            หากแต่แนวคิด “ประชานิยมฝ่่ายซ้าย” นั�น ตั�งอยู่บันสมมติฐานที�ว่า ความเป็นประชาธิ์ิปไตยในแบับัที�มีเพิียงการ

            เลือกตั�งและเปลี�ยนรัฐบัาลนั�นยังไม่เพิียงพิอ เพิราะ การเมืองที�ไม่มี “ความเป็นการเมือง” นั�น เป็นการเมืองที�

            ไม่จริง เพิราะผลลัพิธิ์์ของการเมืองดังกล่าวไม่ได้มีการเปลี�ยนแปลงแม้ขั�วอำนาจจะเปลี�ยนแปลง ประชานิยมฝ่่าย
            ซ้ายจึงต้องการเสนอ “ประชาธิ์ิปไตยที�หยั�งรากลึก” ลงไป เพิื�อทำให้สภาวะทีเป็นประชาธิ์ิปไตยมากกว่าเดิม ซึ�งกรีซ

            เป็นกรณีีหนึ�งที�ตรงตามสมมติฐานดังกล่าว เมื�อปัญหาเริ�มใหญ่ขึ�นในวิกฤตเศูรษฐกิจ
                   ปัญหาเริ�มเห็นได้ชัดจากวิกฤตเศูรษฐกิจปี 2008 ที�ทำให้ประชาชนนนั�นเดือดร้อนอย่างจริงจัง พิรรค PASOK

            โยการนำของ George Papandreou จึงชนะการเลือกตั�งด้วยคำมั�นสัญญาที�จะแก้ปัญหาเศูรษฐกิจของกรีซในปี
            2009 การใช้นโยบัายที�มีลักษณีะเป็นฝ่่ายซ้าย หรือเป็นแบับัชุมชนนิยม (communitarianism) มากขึ�น เช่น

            การพิยายามแจกจ่ายทรัพิยากรและความมั�งคั�งให้มีความยุติธิ์รรมมากขึ�น การเก็บัภาษีที�เป็นทำ เพิื�อให้ผลประโยชน์

            กับัคนชั�นกลางและชั�นล่างของสังคม นอกจากนี�ยังมีนโยบัายเพิื�อเพิิ�มการมีส่วนร่วมของประชาชน นโยบัายสีเขียว
            หรือนโยบัายการบัริหารด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (electronic governance) แต่แล้วเมื�อ PASOK ได้เข้าสู่อำนาจโดย

            การเป็นรัฐบัาลจริง การบัริหารกลับักลายเป็นตรงกันข้าม คือ ได้มีการเซ็นข้อตกลงฉุกเฉิน (memorandum) กับั
            สหภาพิยุโรปและกองทุนสำรองระหว่างประเทศู (International Monetery Fund: IMF) ซึ�งรายละเอียดของ

            ข้อตกลงนั�น เป็นการใช้นโยบัายรัดเข็มขัดและเข้มงวดทางเศูรษฐกิจ ในแนวทางที�ค่อนไปทางเสรีนิยมใหม่



            143  Ibid., 24
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52