Page 42 - kpiebook66004
P. 42

42



                   โปเดมอสจึงใช้การสร้างห่วงโซ่นี�ในการเชื�อมโยงประชาชนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นด้วยวิธิ์ีการ

            สื�อสารทางตรง ทางการศูึกษา ทางวัฒนธิ์รรม เพิื�อที�จะสร้างอัตลักษณี์ของชาติสเปนใหม่  เพิื�อที�จะเป็นจุดศููนย์รวม
                                                                                      127
            ของประชาชนที�แท้จริง การรวบัรวมประชาชนโดยการใช้ห่วงโซ่ดังกล่าว คือการสร้างแนวร่วม และแนวหน้า

            ทางการเมือง ที�เป็นฝ่่ายของประชาชนที�เป็นเสียงส่วนใหญ่ของประเทศู โดยมีโปเดมอสเป็นพิรรคการเมืองที�เป็น
            สถาบััน ที�เป็นตัวแทนของเสียงที�แสดงความต้องการของประชาชนจากเบัื�องล่าง



                   3.3.2 จัาก antagonism สู่ agonism

                   คำว่าคู่ขัดแย้งนั�นในภาษาอังกฤษที�ลาคลาวและ มูฟ ใช้ในงาน Hegemony ในปี 1985 (และ 2001 ในฉบัับั
            พิิมพิ์ครั�งที�สอง) จะใช้คำว่า antagonism ซึ�งใช้ในความหมายที�เป็นคู่ขัดแย้งกันในลักษณีะของการต่อสู้แย่งชิง

            อำนาจนำ แม้ว่าในงาน Hegemony นั�น คำว่า antagonism จะไม่ได้มีความหมายในเชิงการต่อสู้กันอย่าง
            เอาเป็นเอาตาย หรือต้องรบัราฆ่าฟันกัน หากแต่มีความหมายในเชิงการชี�ให้เห็นคู่ตรงข้าม และสร้างแนวหน้า

            ทางการเมือง  เพิื�อนำไปสู่ประชาธิ์ิปไตยที�หยั�งรากลึก และการปฏิิวัติประชาธิ์ิปไตย  อย่างไรก็ดี antagonism
                                                                                     129
                        128
            นั�นยังมีนัยของการที�ตัวแสดงทางการเมืองที�เป็นคู่ขัดแย้งกันนั�น ไม่สามารถอยู่ร่วมกันได้ในสนามทางการเมือง
            หนึ�ง ๆ เพิราะความแตกต่างของอัตลักษณี์ซึ�งกันและกัน ไม่ว่าจะเป็นเรื�องของความแตกต่างของศูาสนา ชาติพิันธิ์ุ์
            หรือเศูรษฐกิจ สิ�งเหล่านี�จึงกลายมาเป็นความเป็นการเมืองที�ต่อสู้กันในรูปแบับัของคู่ขัดแย้ง นำไปสู่การเมือง

            แบับั มิตร/ศูัตรู ที�จะต้องต่อสู้เพิื�อครองอำนาจนำ เพิื�อให้อีกฝ่่ายนั�นไม่มีพิื�นที�และไม่สามารถอยู่ร่วมกันได้  ซึ�ง
                                                                                                        130
            นั�นก็เป็นลักษณีะทั�วไปโดยพิื�นฐานของการชิงอำนาจนำที�จะต้องพิยายามลดทอนตัวตนของคู่ขัดแย้งลงไปให้

            มากที�สุด
                                                                                     131
                   ซึ�งต่างกับั agonism ซึ�งเป็นคำที�ใช้อธิ์ิบัายคู่ขัดแย้งของ มูฟ ในเวลาต่อมา  ซึ�งเป็นแนวคิดที�แสดงให้
            เห็นถึงความแตกต่างของอัตลักษณี์ของคู่ขัดแย้งทางการเมืองเช่นเดียวกัน แต่ความแตกต่างระหว่างอัตลักษณี์/
            ตัวแสดงทางการเมืองที�เป็นคู่ขัดแย้งกันในการชิงอำนาจนำนั�น ไม่จำเป็นต้องอยู่ในสถานะที�อยู่ร่วมกันไม่ได้ ดังนั�น

            agonism นั�นยังคงให้ความชอบัธิ์รรมต่อความต้องการของทั�งสองฝ่่ายของคู่ขัดแย้ง และยังเปิดโอกาสให้คู่ขัดแย้ง
            สามารถมีจุดร่วมกัน และสามารถเปลี�ยนฝ่่ายมาอยู่ด้วยกันได้ ในแง่นี� การชิงอำนาจนำจึงไม่ขัดต่อหลักการ

            ประชาธิ์ิปไตยที�ว่าต้องยอมรับัฟังเสียงของอีกฝ่่าย agonistic politics จึงเป็นการเมืองที�ตั�งอยู่ระหว่างการเมือง
                                                                                                  132
            แบับัสมานฉันท์ (consensualistic politics) กับั การเมืองที�ต้องมีความขัดแย้งแบับั antagonism  กล่าวคือ
            agonism คือความขัดแย้งที�อยู่ในสนามการแข่งขันทางการเมืองแบับัเกมกีฬา (contest in the field) ที�เมื�อ
            แข่งขันกันตามกติกาแล้วก็จับัมือกัน แต่ antagonism คือความขัดแย้งที�ต้องสู้กันให้ตายกันไปข้างหนึ�ง (fighting

            towards death) ซึ�งไม่ได้เปิดโอกาสให้ฝ่่ายตรงข้ามได้มีพิื�นที�ทางการเมืองต่อไป

                   ดังนั�น กรอบัคิดของ agonism จึงเข้ากันได้ดีกับัแนวคิด/ยุทธิ์ศูาสตร์ประชานิยมฝ่่ายซ้ายดังที�ได้กล่าวไป
            เพิราะได้เปิดโอกาสให้คนที�คิดต่างกัน นั�นสามารถเปลี�ยนมาร่วมกับัอีกฝ่่ายได้ กล่าวคือ การมองว่าประชาชนนั�น



            127  Ibid.
            128  Laclau and Mouffe, Hegemony and Socialist Strategy, 126–27.
            129  Ibid., 159
            130  Franzé, ‘The Podemos Discourse’, 51.
            131  Mouffe, On the Political; Chantal Mouffe, The Return of the Political (Verso, 2020); Chantal Mouffe, Agonistics:
            Thinking The World Politically, 1st edition (Verso, 2013); Mouffe, For a Left Populism.
            132  Franzé, ‘The Podemos Discourse’, 51–52.
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47