Page 38 - kpiebook66004
P. 38
38
สิ�งเหล่านี�จึงแสดงให้เห็นถึงการจ่ายภาษีที�ไม่ยุติธิ์รรมและความเหลื�อมล�ำระหว่างผู้มีรายได้สูงและต�ำของสเปน
ทำให้พิรรคโปเดมอสเห็นถึง “ชนช้�นสููงที่่�เอาเปรี่ยบ” กับั “ปรีะชาชนผูู้�ที่่�ถููกเอาเปรี่ยบ” เป็นคู่ตรงข้ามกัน แน่นอนว่า
เมื�อพิูดถึงประชาชนที�ถูกเอาเปรียบั จึงไม่ได้มีการแบั่งแยกว่าเป็นประชาชนกลุ่มใด มีอุมดมการณี์ทางการเมือง
ซ้ายหรือขวา หรือเป็นเพิศูใด เพิราะหากเอารายได้เป็นตัวตั�ง ผู้ที�มีรายได้น้อยทั�งหมดจึงถูกเอาเปรียบัจากกลุ่ม
คนรวย ดังนั�น กลุ่มคนรวยที�เป็นส่วนน้อย แต่ถือครองทรัพิยากรอยู่มาก และยังไม่ได้มีการจ่ายภาษีอย่างเป็นธิ์รรม
จึงเป็นคู่ตรงข้ามกับัประชาชนผู้ถูกเอาเปรียบั การเปลี�ยนแปลงสู่คู่ตรงข้ามใหม่ ที�ศูัตรูของประชาชนคือชนชั�นสูง
จึงเรียกได้ว่าเป็น nodal point หรือจุดที�ความหมายใหม่ที�เป็นกระแสหลักของสังคมนั�นกลายเป็นความคิดที�
ครอบังำ ในสเปน ซึ�งโปเดมอสเชื�อว่าภารกิจของพิวกเขาคือการสลาย nodal point เก่า เพิื�อทำให้ความคิด
100
101
แบับัใหม่เข้าครอบังำแทนที� เช่น การตีความหมายของชาติใหม่ ที�ไม่ใช่แบับัฝ่่ายขวาที�มุ่งอนุรักษ์สิ�งต่าง ๆ ให้
เป็นแบับัเดิม แต่ชาตินั�นหมายถึงสำนึกร่วมของประชาชน ชาติจึงจะขาดประชาชนไม่ได้ และการปกครองโดย
102
ประชาชนนั�นก็คือประชาธิ์ิปไตยนั�นเอง “ฝ่่ายซ้าย” ในที�นี�จึงไม่จำเป็นต้องอยู่ตรงข้ามกับัความเป็นชาตินิยม
เป็นต้น การสร้างจุดเปลี�ยนที�เป็น nodal point จึงเป็นสิ�งสำคัญในการสร้างการเมืองแบับัประชานิยมในการ
เอาชนะคู่ตรงข้าม
พิรรคโปเดมอสจึงหยิบัยกเอาทฤษฎีอำนาจนำ และทฤษฎีประชานิยมฝ่่ายซ้ายมาประยุกต์ใช้เป็น
ยุทธิ์ศูาสตร์ของพิรรคในการในมองการเมืองของสเปน และรวบัรวมประชาชนมาเพิื�อเปลี�ยนแปลงให้รัฐมีความ
เป็นประชาธิ์ิปไตยมากขึ�น และสามารถที�จะทำให้ระบับัเศูรษฐกิจมีความเป็นธิ์รรมกับัประชาชนได้มากขึ�น
3.3.1 ซ้้าย/ขวิา vs ประช้าช้น/ช้นช้ั�นสูง
การแบั่งขั�วทางการเมืองเป็นซ้ายและขวานั�น ทางพิรรคโปเดมอสเห็นว่าเป็นการแบั่งคู่ตรงข้ามแบับัเดิม
แต่ไม่ได้หมายความว่า พิวกเขาปฎิเสธิ์ว่าคู่ตรงข้ามแบับัซ้ายและขวานั�นไม่มีอีกต่อไป ซึ�งด้าน Errejón ได้อธิ์ิบัาย
ในบัทสนทนาของเขากับัชองตาล มูฟ ว่า การแบั่งขั�วแบับัซ้าย/ขวานั�น แน่นอนว่ายังมีอยู่ทั�วไปเช่นในยุโรป แต่
ไม่ใช่ในกรณีีของสเปน ซึ�งหากพิยายามจะทำความเข้าใจการเมืองสเปนแล้วใช้กรอบัคิดแบับัซ้าย/ขวาแล้ว ก็จะ
ไม่มีทางเข้าใจ เพิราะภูมิทัศูน์ทางการเมืองของสเปนนั�นเปลี�ยนไป จุดยืนทางการเมืองของคนไม่ได้หยุดนิ�งอีกต่อไป
ไม่ว่าจะเป็นซ้ายหรือขวา และ ความเป็น “ประชาธิ์ิปไตย” นั�นถูกขโมยไปโดยกลุ่มคนเพิียงเล็กน้อยที�อยู่ด้านบัน
(oligarch— หรือพิวกคณีาธิ์ิปัตย์) กล่าวคือ ไม่ว่าจะเป็นซ้ายหรือขวา แต่ก็คือประชาชนหรือพิลเมือง ที�ถูกขโมย
103
อำนาจจากชนชั�นสูง แนวหน้าทางการเมืองที� Errejón คิดว่าเป็นคู่ตรงข้ามทางการเมืองใหม่ของสเปนจึงคือ
ประชาชน/ชนชั�นสูง หรือ citizen/casta ซึ�ง casta นั�นตรงกับั caste ในภาษาอังกฤษ ซึ�งหมายถึงวรรณีะ หรือ
104
ฐานะ/สถานภาพิทางสังคม ซึ�งหมายถึงผู้ที�มีสถานภาพิทางสังคมในชั�นที�สูงกว่าประชาชนทั�วไป (และยังเป็นชื�อที�
ได้มาตั�งแต่การเปลี�ยนผ่านสู่ประชาธิ์ิปไตยของสเปนในปี 1978 ซึ�งหมายถึงชนชั�นสูงทั�งในแง่ของเศูรษฐกิจ
การเมือง และวัฒนธิ์รรม ) จุดนี�จึงอาจเปรียบัเทียบัได้กับั 99% vs 1% ที�เป็นการต่อสู้ระหว่างผู้ที�มี
105
100 Laclau and Mouffe, Hegemony and Socialist Strategy, 112.
101 Errejón and Mouffe, Podemos, 40.
102 Ibid., 87.
103 Ibid., 117–19.
104 มีการใช้คำที�แตกต่าง ที�สื�อถึงประชาชนตัวเล็ก มาเป็นคู่ตรงข้ามกับัชนชั�นสูงที�เป็นยักษ์ตัวใหญ่ อย่างเช่น new/below/
democracy vsold/above/oligarcy ดู Óscar García Agustín and Marco Briziarelli, eds., Podemos and the New Political
Cycle: Left-Wing Populism and Anti-Establishment Politics, 1st ed. 2018 edition (Palgrave Macmillan, 2017), 53–54.
105 Franzé, ‘The Podemos Discourse’, 52.