Page 33 - kpiebook66004
P. 33

33



            เพิราะพิรรคการเมืองสามารถเชื�อมโยงกับัฐานเสียงที�เป็นประชาชน และเชื�อมโยงกับัอำนาจรัฐ ที�สามารถสร้าง

            การเปลี�ยนแปลงของทั�งนโยบัายและผลลัพิธิ์์ต่าง ๆ ของประเทศูได้
                   โดยเฉพิาะพิรรคการเมืองที�มีเสียงสนับัสนุนจากกลุ่มของประชาชนที�มีอุดมการณี์และแนวทางที�ชัดเจน

            แล้ว การก่อตั�งพิรรคการเมืองเพิื�อให้ได้ที�นั�งมากพิอในสภา เพิื�อเป็นตัวแทนเสียงของกลุ่มประชาชนเหล่านั�น เพิื�อ
            นำเสียงสะท้อนและความต้องการของประชาชนไปปฏิิบััติจริง ให้เห็นผลลัพิธิ์์ที�เป็นรูปธิ์รรมจึงเป็นเรื�อง

            ที�สมเหตุสมผล และมีความเป็นไปได้ แม้ว่าจะมีผู้ชุมนุมและนักกิจกรรมที�ไม่เห็นด้วยกับัแนวทางการเมืองแบับั
            พิรรคการเมือง และมองว่าพิรรคการเมืองไม่ได้เป็นตัวแทนของพิวกเขา  เพิราะแม้ว่าในคำประกาศูของพิรรค
                                                                           79
            ในหลายครั�ง จะเอ่ยและอ้างถึงถึงขบัวนการ 15-M ตลอดมา เพิื�อทำให้ผู้สนับัสนุนขบัวนการเข้าใจว่าพิรรคการเมืองนี�

            เป็นเป็นตัวแทนเสียงของพิวกเขาในการเมืองในระบับัหรือการเมืองเชิงสถาบััน แต่ขณีะเดียวกันพิรรคก็ไม่สามารถ
            บัอกได้ว่าเป็นพิรรคที�เป็นเฉพิาะของ 15-M ทั�งนี�ก็เพิราะพิรรคนั�นต้องพิูด “ในนามของประชาชน” นั�นก็หมายถึง

            ประชาชนทั�งหมด ที�มีสิทธิ์ิ�เลือกตั�งและอาจเลือกลงคะแนนให้พิรรค ไม่ได้หมายความเพิียงแค่กลุ่มที�เข้าร่วมกับั

            15-M เพิียงกลุ่มเดียว เพิราะก็เป็นเรื�องธิ์รรมดาที�กลุ่มคนหลายกลุ่มมาทำงานร่วมกันจะมีความเห็นที�แตกต่าง
            กัน แม้แต่เรื�องของการบัริหารงานแบับัแนวราบั หรือการบัริหารงานแบับัแนวดิ�ง หรือบันลงล่าง แน่นอนว่าการ

            มีสถาบัันทางการเมืองอย่างพิรรคการเมืองนั�นต้องมีลำดับัชั�นของโครงสร้าง แต่กลุ่มที�ต้องการความเท่าเทียมใน
            การบัริหารก็ยืนยันถึงหลักการ เป็นต้น 80

                   ดังนั�น การปรับัตัวเข้ามาในสนามทางเมืองในรูปแบับัของสถาบััน จึงไม่สามารถทำตามแต่ความต้องการ
            ของกลุ่มใดกลุ่มหนึ�ง หรือขบัวนการใดขบัวนการหนึ�งได้ การพิยายามให้ได้คะแนนเสียงจึงต้องพิยายามที�จะ

            รวบัรวมคนกลุ่มอื�น ๆ เข้าไปด้วยให้ได้มากที�สุด แต่ปัญหาก็จะตกลงมาอยู่ที�ว่า หากรวบัรวมผู้คนจากมากมาย

            หลายกลุ่มที�มีความหลากหลายแล้ว จะสามารถรักษาข้อเสนอและอุดมการณี์ที�ก่อกำเนิดมาตั�งแต่แรกได้หรือไม่
            หากจะต้องลดทอนความเข้มข้นของอุดมการณี์และข้อเสนอของพิรรคลงไป แล้วจะทำให้สูญเสียฐานเสียงที�ก่อตั�งมา

            หรือไม่ และจะเกิดความขัดแย้งของแนวทางของผู้คนในพิรรคหรือไม่ หากเกิดแล้วจะแก้ไขปัญหาอย่างไร ฯลฯ
            ปัญหาเหล่านี�จึงตามมาเมื�อนำขบัวนการในรูปแบับั autonomy เข้าสู่ความเป็นสถาบัันทางการเมือง ที�ต้องเลือก

            แนวทางที�ชัดเจน และเป็นตัวแทนของประชาชนที�มีความแตกต่างหลากหลาย เพิราะความคาดหวังของผู้สนับัสนุนนั�น
            ก็จะแตกต่างหลากหลายไปด้วย การที�บัอกว่า “พิรรคเป็นของทุกคน” หรือ การพิูด “ในนามของทุกคน” เป็นองค์รวมนั�น

            จึงเกิดขึ�นได้ยาก



                   3.2.3 ปัญหาขอุงการเปลี�ยนผู้่านสู่สถาบัันทางการเมือุง

                   หลังจากที�พิรรคโปเดมอสได้ก่อตั�งขึ�น ก็ได้เกิดการจัด “สมัชชาพิลเมือง” (citizen assembly) ที�เรียกว่า

            Vistalegre I ของพิรรคขึ�นเพิื�อเป็นการแถลงนโยบัายและกิจกรรมของพิรรค และยังเป็นการเปิดโอกาสให้สมาชิกพิรรค
            ได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็น และร่วมลงมติถึงทิศูทางของพิรรคว่าจะดำเนินแนวทางของพิรรคไปใน

            ทิศูทางใด ทั�งยังเปิดโอกาสให้ประชาชนนั�นสามารถเสนอแนวทางและนโยบัายได้ และยังมีการให้ลงคะแนนเพิื�อ
            เลือกหลักการทางการเมือง โครงสร้าง และแนวทางเกี�ยวกับัจริยธิ์รรม (ethical) ของพิรรคได้ ซึ�งทุกคนที�ลงทะเบัียน

            ร่วมงานสามารถลงคะแนนได้ ซึ�งพิรรคโปเดมอสนั�น ได้ออกตัวว่าเป็นพิรรคของทุกคน จึงพิยายามที�จะสร้างเครื�องมือ


            79 Ibid., 232–34.

            80 Ibid., 251–52.
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38