Page 35 - kpiebook66004
P. 35
35
ทางการเมืองเดียวกัน จึงเกิดคำถามว่าโปเดมอสก็เป็นเพิียงแค่พิรรคก่อตั�งใหม่ที�ไม่แตกต่างจากพิรรคการเมือง
ทั�ว ๆ ไปที�เคยมีอยู่ ไม่ได้มีความก้าวหน้าและมีความสามารถที�จะผลักดันให้เกิดการเปลี�ยนแปลงได้จริง
นอกจากนี�ยังมีเรื�องของการที�ผู้มีอำนาจและการตัดสินใจในพิรรคขึ�นอยู่กับับัุคลากรที�เป็น “ผู้ชาย”
เนื�องจากหนึ�งในองค์ประกอบัหลักในการก่อตั�งพิรรคนั�นคืออุดมการณี์สตรีนิยม (feminism) เนื�องจากมีการต่อสู้
85
เพิื�อความเท่าทียมทางเพิศู การต่อต้านความรุนแรงทางเพิศู และการต่อสู้เพิื�อสิทธิ์ิสตรี เป็นต้น สิ�งเหล่านี�จึง
86
เกิดขึ�นเป็นปัญหาที�ท้าทายขอโปเดมอสว่าจะสามารถทำให้พิรรค “เป็นของทุกคน” ได้จริงหรือไม่ ขณีะที�การมีส่วนร่วม
ของภายในพิรรคในการลงคะแนนเสียงเพิื�อการตัดสินใจต่าง ๆ ลดลงอย่างต่อเนื�อง สิ�งที�พิรรคพิยายามทำต่อไป
87
คือการ “รวบัรวม” ความต้องการต่าง ๆ ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพิรรคเข้ามาให้ได้มากขึ�น เช่น เรื�องของสตรีนิยม
เป็นต้น สมาชิกพิรรคหลายคนที�เป็นผู้หญิงอ้างถึงความสำคัญของความเป็นสตรีนิยม และต้องการให้ผู้หญิงมีบัทบัาท
และมีอิสระมากขึ�นในพิรรค ประกอบักับักล่าวว่า ขบัวนการสตรีนิยมเองก็เป็นหนึ�งในแกนหลักของขบัวนการ
88
15-M แน่นอนว่าเมื�อประเด็นดังกล่าวถูกหยิบัยกขึ�นมา ทำให้เกิดการพิิจารณีาต่อของพิรรค ต่อมาในการหารือ
ในสมัชชาพิลเมืองของพิรรคในครั�งที� 2 หรือ Vistalegre II นั�น ได้มีการบัรรจุเรื�องของสตรีนิยม สิทธิ์ิของผู้หญิง
ความเป็นปึกแผ่น ความหลากหลายของชาติ การกระจายอำนาจ ยังมีแผน 2020 ที�ระบัุว่าต้องเป็นการลด
ความเป็นปิตาธิ์ิไตย หรือชายเป็นใหญ่ลงในพิรรค เป็นต้น 89
Vistalegre II นั�น เป็นการลงประชามติของพิรรคเพิื�อหามติผู้นำของพิรรค และแนวทางต่าง ๆ ทั�ง
ทางการเมืองและการจัดการในพิรรค ซึ�งนำมาซึ�งความไม่ลงรอยกันของ Iglesias และ Errejón ซึ�งฟาก Errejón นั�น
เสนอแนวทางที�กระจายอำนาจลงไปให้มากขึ�นในพิรรค เพิื�อให้สามารถรักษาความสัมพิันธิ์์และการเชื�อมต่อกับั
การเคลื�อนไหวทางสังคมของประชาชน เช่น 15-M ไว้ ทำให้เกิดการเปรียบัเทียบัว่า Errejón นั�นมีความเป็น “ซ้าย”
น้อยกว่า Iglesias แต่แนวทางของ Iglesias เองนั�น เป็นแนวทางที�แม้ว่าจะ “ซ้ายกว่า” แต่ก็นิยมแนวทางที�มี
การจัดการพิรรคแบับั “บันลงล่าง” ซึ�งก็ยังถูกวิจารณี์ว่าไม่ได้มีการเปิดให้คนที�อยู่ด้านล่าง หรือผู้สนับัสนุนนั�นได้
มีส่วนร่วมอย่างแท้จริง ทำให้ขาดการสนับัสนุนและความชอบัธิ์รรมจากกลุ่มที�นิยมการชุมนุมแบับัอิสระ และ
90
15-M แม้ว่าจะชนะการลงประชามติก็ตาม แน่นอนว่า การได้เป็นผู้นำของ Iglesias ก็นำไปสู่ความรู้สึกว่าจะ
ไม่มีการเปลี�ยนแปลง แม้ว่าจะมีการพิยายามบัรรจุความต้องการไว้แล้วก็ตาม ทำให้ผู้สนับัสนุนทั�งในและนอกพิรรค
91
ลดระดับัความนิยมต่อพิรรคลง บั้างอาจเรียกว่าเป็นการ “ถอดถอยจากประชานิยม” เพิราะประชาชนให้ความนิยม
ลดลงเนื�องจาก ยังมีปัญหาเรื�อรังตั�งแต่ปี 2015 เช่น การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน ขาดการจัดการวาง
รากฐานในพิื�นที�ต่าง ๆ ในประเทศู การมีลำดับัชั�น และการรวมศููนย์อำนาจของพิรรค ความไม่ชัดเจนของ
อุดมการณี์ทางการเมือง ขาดการเอาใจฐานเสียง นอกจากนี�ยังขาดความชัดเจนในอุดมการณี์ที�ต่อต้าน “กลุ่ม 1%”
85 แม้แต่สีประจำพิรรคซึ�เป็นสีม่วงก็ยังได้มาจากความข้องเกี�ยวกับัสตรีนิยม ดู Javier Franzé, ‘The Podemos Discourse: A Journey
from Antagonism to Agonism’, in Podemos and the New Political Cycle: Left-Wing Populism and AntiEstablishment Politics,
ed. Óscar García Agustín and Marco Briziarelli (Cham: Springer International Publishing, 2018), 56, https://doi.
org/10.1007/978-3-319-63432-6_3.
86 Fominaya, Democracy Reloaded, 236–39.
87 Ibid., 264.
88 Ibid., 267.
89 Ibid., 272.
90 Ibid., 274–75.
91 ดูเพิิ�มในส่วนของ ความแตกต่างและพิัฒนาการของสมัชชนพิลเมืองได้ที� ‘Vistalegre I vs. Vistalegre II: diez diferencias
dos años después’, El Independiente, 10 December 2016,
https://www.elindependiente.com/politica/2016/12/10/vistalegre-i-vs-vistalegre-ii-10-diferencias-dos-anosdespues/.