Page 31 - kpiebook66004
P. 31

31



                   แต่หากจะย้อนไปก่อนหน้านั�นก็ได้มีสมาชิกของกลุ่ม ที�ในปี 2006 Luis Giménez หนึ�งในผู้ร่วมรายการ

            La Tuerka ดังกล่าวได้ทำกิจกรรมเช่นการแสดงออกในโรงอาหารของคณีะรัฐศูาสตร์และสังคมวิทยา มหาวิทยาลัย
            Madrid’s Universidad Complutense โดยการแต่งชุดสีขาวและปราศูรัยประท้วงเพิื�อแสดงออกว่ามหาวิทยาลัย

            ควรจะเป็นที�ที�สนุกและผ่อนคลาย ไม่ใช่พิื�นที�แห่งความจำยอม ประกอบักับัมีการเคลื�อนไหวทั�งในรูปแบับัของ
            กิจกรรม และในรูปแบับัของวิชาการมากมาย เช่น La Promotora del pensamiento crítico (The promoter

            of critical thought) ที�มีกลุ่มนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยมาดริด ที�รวมถึง Pablo Iglesias Turrión, Íñigo Errejón,
            Carolina Bescansa และ Juan Carlos Monedero ที�จะเป็นผู้ก่อตั�งพิรรคในเวลาต่อมา ได้จัดกิจกรรมทั�งในแง่มุม

            ของการเคลื�อนไหวและวิชาการเข้าด้วยกัน เพิื�อเชื�อมพิื�นที�ของวิชาการและการเคลื�อนไหวทางสังคมต่าง ๆ เข้าด้วยกัน 71

                   จากนั�นจึงเกิดการจัดกิจกรรมและการสัมมนาในลักษณีะนี�มากมาย โดยความร่วมมือของเครือข่ายที�กว้างขึ�น
            ในสเปน และทำให้มีฐานของผู้ฟังและผู้ที�สนใจแนวทางของกลุ่มมากขึ�น ในช่วงเวลาตั�งแต่ปี 2006 –2010 นั�นเป็น

            ช่วงเวลาที�คาบัเกี�ยวกับัวิฤตการทางเศูรษฐกิจที�เกิดขึ�นในปี 2007 – 2008 ที�ทำให้ประชาชนประสบัปัญหาทาง

            เศูรษฐกิจมากมาย ทำให้เกิดความเดือดร้อน ทำให้คนหันมาสนใจถึงปัญหามากขึ�น สิ�งที�กลุ่มนี�ทำจึงเป็นการศูึกษา
            และวิพิากษ์ถึงแนวทางและอุดมการณี์ทางเศูรษฐกิจแบับัเสรีนิยมใหม่ ที�นำมาสู่การเกิดขึ�นของวิกฤตการณี์ทางเศูรษฐกิจ

            ดังกล่าว หลังจากปี 2008 การอภิปรายในเรื�องเหล่านี�จึงขยายวงกว้างออกไปนอกมหาวิทยาลัย กลุ่ม La Promotora
            ดังกล่าวที�แสดงตัวว่าเป็นกลุ่มวิพิากษ์ ที�ก่อตั�งโดยผู้คนที�จะกลายมาเป็นสมาชิกที�ให้กำเนิดพิรรคโปเดมอสในอนาคต

            การเสวนานั�นมีตั�งแต่ประเด็นการเปลี�ยนผ่านการปกครอง สิทธิ์ิมนุษยชน การเปลี�ยนแปลงของช่วงวัย การเปรียบัเทียบั
            บัริบัทการเมืองในละตินอเมริกา เพิื�อมาปรับัใช้ในสเปน ซึ�งโปเดมอสเองได้รับัอิทธิ์ิพิลและแรงบัันดาลใจมาจาก

            รูปแบับัทางการเมืองในละตินอเมริกา ที�เมื�อฝ่่ายซ้ายมีอำนาจรัฐฝ่่ายซ้ายสามารถที�จะทำการเปลี�ยนแปลงได้ ในแง่นี�

                                                         72
            การเปลี�ยนแปลงจึงสามารถทำได้จากผู้ถืออำนาจรัฐ  และยังมีการใช้ทั�งสื�อโทรทัศูน์จัดรายการ เช่น นำเสนอใน
            รูปแบับัการตอบัคำถามในเวลา 99 วินาที เป็นต้น มีการเชิญแขกรับัเชิญที�มีชื�อเสียงมากมาย ยังมีการเชิญผู้

            สนับัสนุนพิรรค PP ซึ�งเป็นพิรรคฝ่่ายขวา และใช้พิวกเขาเป็นคู่ซ้อมในการอภิปรายออกอากาศู ทำให้ได้รับัความ
            นิยมเป็นอย่างมาก มีการใช้ความรู้ในเรื�องของสื�อในสังคมออนไลน์ เพิื�อขยายฐานความรู้จัก และยังใช้ความรู้ของ

            การสื�อสารทางการเมือง (Political Communication) ในการสื�อสารกับัผู้ชมทุกกลุ่ม ยังมีการสื�อสารกับัสถาบััน
            และองค์กรทางสังคมต่าง ๆ ทั�งในและต่างประเทศู เพิื�อทำให้เกิดพิลังทางการเมืองจากสถาบัันต่าง ๆ ในลักษณีะ

            ที�เป็นแรงเสริมให้กับัการเคลื�อนไหวของโปเดมอส ที�ไม่ได้เป็นเพิียงการเคลื�อนไหวของมวลชนเท่านั�น 73

                   แต่ในปี 2010 ที�ผลกระทบัของวิกฤตนั�นถึงจุดที�หนักหน่วง กลุ่มทางการเมืองหลายกลุ่มในสเปนจึงรวมตัวกัน
            ทำกิจกรรม ทั�งการจัดรายการ การเคลื�อนไหวต่าง ๆ รวมถึงในรูปแบับัใต้ดิน ในปี 2011 ก่อนเกิดเหตุการณี์ 15-M

            มีผู้ชมหลายล้านคน ซึ�งสูงขึ�นเป็นอย่างมาก อีกทั�งในรายการยังได้มีการให้นิยามของคำใหม่ เช่น คำว่า “ชาติ”

            หรือ “ประเทศู” ซึ�งมักเป็นคำที�ฝ่่ายขวาใช้ในการอ้างอิงถึงความสำคัญ ให้มาเป็นกรอบัคิดที�เป็นความหมายในแบับั
            ของฝ่่ายซ้าย เหตุนี�การอภิปรายกับัตัวแทนของพิรรค PP ด้วยเรื�องเหล่านี�จึงทำให้รายการได้รับัความนิยมเป็นอย่างมาก
                                                                                                           74


            71  Fominaya, Democracy Reloaded, 226,231.
            72  Salvador Schavelzon and Jeffery R. Webber, ‘Podemos and Latin America’, in Podemos and the New Political Cycle:
            Left-Wing Populism and Anti-Establishment Politics, ed. Óscar García Agustín and Marco Briziarelli (Cham: Springer
            International Publishing, 2018), 177–78, https://doi.org/10.1007/978-3-319-63432-6_8.
            73  Fominaya, Democracy Reloaded, 226–30.
            74 Ibid., 229–30.
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36