Page 26 - kpiebook66004
P. 26
26
ใช้ยุทธิ์ศูาสตร์แบับัประชานิยม แต่ใช้เนื�อหาที�มีความเป็นฝ่่ายซ้าย ในแง่ของเสรีภาพิ ความเท่าเทียม และ
ประชาธิ์ิปไตย ในการดึงดู/ควบัรวม/ก่อตัว ของประชาชนที�มาสนับัสนุน เพิื�อครองอำนาจนำในสังคม นำไปสู่
47
การปกครองแบับัประชาธิ์ิปไตยที�หยั�งรากลึก (radical democracy) ที�เป็นการทำให้คุณีค่าของประชาธิ์ิปไตย
อย่างเสรีภาพิและความเท่าเทียมนั�นมีความเข้มข้นมากขึ�น 48
นอกจากนี� สิ�งหนึ�งที�อาจสร้างความแตกต่างให้ประชาชานิยมแบับัซ้าย และขวา คือ ความเป็นการเมือง
49
(the political) ซึ�ง Taggart (2000, 5, 97-98) ชี�ว่าประชานิยมนั�น เป็นการต่อต้านความเป็นการเมือง
ในยามวิกฤต ซึ�งประชานิยมนั�นมักจะเกิดขึ�นได้ดีในยามวิกฤตอยู่แล้ว เพิราะประชาชนตกอยู่ในสภาวะที�ยากลำบัาก
50
ก็เป็นธิ์รรมดาที�จะใช้เหตุผลน้อยลง แต่ มูฟ ว่าประชานิยมแบับัซ้ายนั�น เป็นการดึงความเป็นการเมืองกลับัมาสู่
ประชาชน เพิียงแต่ใช้ประชานิยมเป็นเครื�องมือในการสร้างยุทธิ์ศูาสตร์เพิื�อครองอำนาจนำโดยประชาชน โดยการ
แบั่งแนวหน้าทางการเมือง (political frontline) ที�มีสองพิวก คือ ประชาชนที�ไม่ได้ถืออำนาจ และกลุ่มชนชั�นสูง
51
(elites ที�กุมอำนาจอยู่51 เพิื�อสร้างประชาธิ์ิปไตยที�ยั�งรากลึกในสังคมเท่านั�น พิรรคโปเดมอส (รวมถึงซิริซ่า
และอนาคตใหม่ ที�จะกล่าวถึงต่อไปด้วยนั�น) ก็เป็นพิรรคการเมืองหนึ�งที�ประกาศูตัวชัดเจนว่าปรับัใช้อุดมการณี์/
แนวคิด/ยุทธิ์ศูาสตร์ นี� ในการสร้างพิรรคการเมืองและประสบัความสำเร็จในช่วงแรก
เราจึงควรต้องมาพิิจารณีาว่า ในกรณีีของพิรรคโปเดมอส ที�ถือกำเนิดขึ�นในประเทศูสเปนในทศูวรรษที�
2010 นั�น มีการก่อตัวขึ�นท่ามกลางบัริบัทและวิกฤตทางการเมืองและเศูรษฐกิจอย่างไร ตลอดจนสามารถนำแนวคิด
และอุดมการณี์ประชานิยมฝ่่ายซ้ายไปปรับัใช้ได้อย่างไร และวิธิ์ีการของพิรรคโปเดมอสนั�น แตกต่างจากการ
พิรรคการเมืองอื�น ๆ ที�เคยมีมาในการเมืองในระบัอบัประชาธิ์ิปไตยทั�วไปในแง่ที�ว่าสามารถสร้างคู่ขัดแย้งใหม่
ในฐานะอุดมการณี์ทางการเมืองได้อย่างไร
3.1 บัริบัททางการเมือุงขอุงประเทศึสเปนก่อุนการเกิดขึ�นขอุงกระแสอุุดมการณ์์ประช้านิยมฝ่่ายซ้้าย
หลังจากที�สเปนได้มีการเปลี�ยนแปลงจากระบัอบัเผด็จการอำนาจนิยมมาเป็นประชาธิ์ิปไตยหลังจากสิ�นสุด
ยุคของฟรังซิสโก้ ฟรังโก้ (Fancisco Franco) ในปี 1975 แล้ว การเปลี�ยนแปลงไปสู่ประชาธิ์ิปไตย (democratization)
ก็เริ�มต้นขึ�น ไม่ว่าจะเป็นการเลือกตั�งทั�วไปในปี 1977 หรือการลงประชามติรับัรองการมีรัฐธิ์รรมนูญในปี 1978
52
การเมืองของสเปนก็ดูจะลงหลักปักฐานเป็นประชาธิ์ิปไตย (democratic consolidation) เหมือนหลายประเทศู
53
ในยุโรป อันเป็นการสิ�นสุดช่วงเวลาเปลี�ยนผ่านของสเปน เนื�องจากมีการปกครองที�อำนาจอธิ์ิปไตยนั�นมีที�มา
จากประชาชน ระบัอบัการปกครองของประเทศูสเปนนั�น จึงเป็นแบับักษัตริย์ภายใต้รัฐธิ์รรมนูญ (constitutional
monarchy) ส่วนหนึ�งก็เนื�องจากกษัตริย์ฮวน คาร์ลอส ที� 1 (Juan Carlos I) นั�นมีบัทบัาทในการช่วยให้สเปน
เปลี�ยนผ่านมาสู่ระบัอบัประชาธิ์ิปไตยมาได้ ไม่เพิียงเท่านั�น กลุ่มทางสังคมและภาคประชาสังคมต่าง ๆ ไม่ว่าจะ
47 Ernesto Laclau and Chantal Mouffe, Hegemony and Socialist Strategy: Towards a Radical Democratic Politics, 2nd
edition (London: Verso, 2001), 3; Chantal Mouffe, For a Left Populism (London ; New York: Verso, 2018).
48 Íñigo Errejón and Chantal Mouffe, Podemos: In the Name of the People (London: Lawrence and Wishart Ltd,
2016), 23.
49 ดู Chantal Mouffe, On the Political, 1st edition (London ; New York: Routledge, 2005).
50 Taggart, Populism, 5,97-98.
51 Mouffe, For a Left Populism, 11.
52 Juan Carlos Colomer Rubio, ‘“ Todo Está Casi Perdonado” A Propósito de La Transición, Debate Historiográfico y
Propuestas Metodológicas.’, Studium: Revista de Humanidades, no. 18 (2012): 257–72.
53 Pamela Beth Radcliff, Modern Spain: 1808 to the Present, 1st edition (Wiley-Blackwell, 2017), 250.