Page 21 - kpiebook66004
P. 21

21



                   ในแง่นี� นอกจากกำหนดปรปักษ์ร่วมแล้ว การครองอำนาจนำตามที�ลาคลาวและมูฟนำเสนอจึงยังต้อง

            อาศูัยการกำหนด nodal point หรือจุดยึดทางอัตลักษณี์ในฐานะสัญลักษณี์ที�หยิบัยื�นตัวตนทางการเมืองซึ�งจะ
            เชื�อมร้อยทุก ๆ กลุ่มเข้าไว้ด้วยกันในฐานะของสิ�งที�ต้องร่วมกันปกป้องจากภัยคุกคามที�มาจากปรปักษ์  โดย
                                                                                                      36
            คุณีสมบััติสำคัญของสัญลักษณี์ที�จะทำหน้าที�เป็นจุดยึดทางอัตลักษณี์ได้นั�นจะต้องเป็นรูปสัญญะ (signifier)

            ที�วางอยู่บันความกำกวมของความหมายในแง่ที�ว่าด้านหนึ�งรูปสัญญะดังกล่าวจะมีนัยสื�อถึงองคาพิยพิทั�งหมด
            ของสังคม แต่ในขณีะเดียวกันก็กลับัไม่สามารถระบัุและผูกขาดความหมาย (signified) ขององคาพิยพิเหล่านั�น

            ซึ�งลาคลาวและมูฟได้ชี�ให้เห็นว่าความกำกวมดังที�ว่ามานี�คือเงื�อนไขสำคัญต่อปฏิิบััติการของอำนาจนำ เพิราะการ
            มีนัยสื�อถึงองคาพิยพิทั�งหมดย่อมทำให้สัญลักษณี์ซึ�งทำหน้าที�เป็นจุดยึดทางอัตลักษณี์สามารถดึงดูดให้กลุ่ม

            ต่าง ๆ เข้าร่วมและรับัการเชื�อมต่อภายใต้ห่วงโซ่แห่งความเชื�อมโยงเท่าเทียม หากแต่ด้วยเหตุที�สัญลักษณี์ดัง

            กล่าวไม่อาจระบัุและผูกขาดความหมาย ก็ย่อมหมายถึงโอกาสที�กลุ่มต่าง ๆ อาจก้าวขึ�นมาเป็นผู้นำด้วยการนำเสนอ
            ความหมายให้กับัสัญลักษณี์ดังกล่าว (ซึ�งย่อมตามมาด้วยการกำหนดปรปักษ์ต่อความหมายที�ถูกนำเสนอ)

            เฉกเช่นเดียวกับัที�กลุ่มอื�น ๆ เองก็อาจสามารถช่วงชิงการนำจากกลุ่มผู้นำเดิมด้วยการนำเสนอความหมาย (และ
            ปรปักษ์) ใหม่แก่สัญลักษณี์เหล่านั�น 37



            36 Ibid, pp. 98-99.
            37  นั�นจึงไม่ใช่เรื�องแปลกที�สถานะของจุดยึดทางอัตลักษณี์ตรงนี�จะดูคล้ายคลึงกับัสิ�งที�นักวิชาการด้านสัญญะวิทยาเรียกว่าตัว
            หมายล่องลอยหรือ floating signifier ที�รูปสัญญะจะสามารถเปลี�ยนความหมายของตนไปได้เรื�อย ๆ กระนั�นในสายตาของลาคลาว
            แล้วหากเทียบัเคียงจุดยึดทางอัตลักษณี์เข้ากับักลไกการทำงานของสัญญะ จุดยึดดังกล่าวก็คงไม่ใช่รูปสัญญะที�ล่องลอย หากแต่
            คือสิ�งที�เรียกว่า “รูปสัญญะเกินความหมาย” หรือ empty signifier ซึ�งก็คือรูปสัญญะที�สื�อไปถึงขีดจำกัด หรือคู่ตรงข้ามของระบับั
            ที�กำหนดการสื�อสาร (signifying system) ทั�งหมด ด้วยการชี�ให้เห็นขีดจำกัดที�การสื�อความหมายผ่านการทำงานในโครงสร้าง
            ระหว่างรูปสัญญะและความหมายสัญญะไม่สามารถเกิดขึ�นมาได้ เพิราะหัวใจสำคัญของจุดยึดทางอัตลักษณี์นั�น จะไม่ใช่แค่การ
            ที�ตัวมันเองเป็นรูปสัญญะที�ไม่ยีดติดกับัความหมายใด ๆ หากแต่คือการเป็นรูปสัญญะที�มีนัยสื�อถึงองคาพิยพิทั�งหมดของสังคม
            (แม้อาจไม่สามารถกำหนดความหมายขององคาพิยพิต่าง ๆ ได้อย่างตายตัว ก็ตาม) ผู้สนใจสามารถดูเพิิ�มเติมทัศูนะของลาคลาว
            ตรงนี�ได้ใน Ernesto Laclau, “Why do Empty Signifiers Matter to Politics?”, in Emancipation(s) (London: Verso,
            1996), pp.36-46. อนึ�ง ควรกล่าวไว้ในที�นี�ว่าการพิิจารณีาจุดยึดทางอัตลักษณี์ว่าเป็นรูปสัญญะเกินความหมายดัง ที�อธิ์ิบัายไป
            นั�น ย่อมบั่งชี�ให้เห็นถึงร่องรอยทางความคิดแบับัจิตวิเคราะห์ที�ลาคราวและมูฟได้รับัอิทธิ์ิพิลจาก ฌาร์ค ลากอง (Jacques Lacan)
            นักจิตวิเคราะห์คนสำคัญชาวฝ่รั�งเศูส อย่างไรก็ตาม แม้อาจมีร่องรอยปรากฏิ แต่ก็เป็นที�น่าเชื�อว่า ในขณีะที�ทั�ง คู่กำลังนำเสนอ
            ตัวแบับัการวิเคราะห์ผ่านแนวคิดเรื�องวาทกรรมและการเชื�อมต่อใน Hegemony and Socialist Strategy นั�น ทั�งลาคราวและ
            มูฟยังคงไม่ได้ตระหนักถึงความคล้ายคลึงกัน ระหว่างข้อเสนอของตนกับัแนวคิดทางจิตวิเคราะห์ของลากอง หลักฐานที�ยืนยัน
            ประเด็นนี�ได้เด่นชัดที�สุดก็คือการที�ทั�งคู่เลือกอธิ์ิบัายการสร้างอัตลักษณี์ทางการเมืองให้กับัั ตัวตนหรือ subject ว่าเป็นเรื�องของ
            การเชื�อมโยงเข้ากับัตำแหน่งแห่งที�ที�ถูกผลิตสร้างโดยวาทกรรม หรือที�เรียกว่า subject position แทนที�จะอธิ์ิบัายตามแบับัจิต
            วิเคราะห์ของลากองว่า เป็นเรื�องของการจัดวางและเร่งเร้าความปรารถนา (desire) อันเป็นองค์ประกอบัแกนกลางภายใน
            โครงสร้างของตัวตนหรือ subject เอง ในแง่นี� จึงไม่ผิดนักที�การขยับัคำอธิ์ิบัายของลาคราวและมูฟในเรื�องการสร้างตัวตนทางการ
            เมืองจาก subject position มาเป็น subject จะเป็นสิ�งที�เกิดขึ�นในภายหลัง โดยเฉพิาะหลังจากที�ทั�ง คู่ได้อ่านข้อวิพิากษ์จากสลาวอย
            ชิเชก (Slavoj Zizek) ซึ�งวิจารณี์ในประเด็นนี� หลังจากที�ทั�งคู่นำเสนอแนวคิดของตัวเองใน Hegemony and Socialist Strategy
            ไปแล้ว (ดู Slavoj Zizek, “Beyond discourse-Analysis”, New Reflections on the Revolution of Our Time , pp.249-
            260) ด้วยเหตุนี� แม้อาจตระหนัก ถึงอิทธิ์ิพิลที�ลาคราวและมูฟได้รับัจากลากอง แต่เมื�อพิิจารณีาว่า ในช่วงที�พิัฒนากรอบัโครงใหญ่
            ทางความคิดผ่านงานเขียนอย่าง Hegemony and Socialist Strategy นั�น ทั�งคู่ยังไม่ได้รับัหรือตระหนักถึงอิทธิ์ิพิลของลากอง
            จริง ๆ ประกอบักับัทิศูทางภาพิรวมของงานวิจัย ชิ�นนี�ที�มุ่งจะนำเสนอทฤษฎีที�จะกลายเป็นตัวแบับัทางยุทธิ์ศูาสตร์ให้กับัการขับัเคลื�อน
            และสร้างพิรรคการเมืองในทางปฏิิบััติอันมาจากงานเขียนอย่าง Hegemony and Socialist Strategy เป็นหลัก จึงเห็นควรที�จะ
            ละวางคำอธิ์ิบัายถึงพิัฒนาการทางความคิดที�ลาคราวและมูฟจะพิัฒนาความคิดของตนไปในแนวทางจิตวิเคราะห์ของลากองไว้
            แต่เพิียงเท่านี� ด้วยคาดหวังว่าคณีะผู้วิจัยจะมีโอกาสไต่สวนและนำเสนอประเด็นความสัมพิันธิ์์ทางความคิดระหว่างทฤษฎีการเมือง
            ของลาคราวและมูฟ กับัแนวคิดจิตวิเคราะห์ของลากองในงานวิจัยอื�น ๆ ในอนาคตต่อไป
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26