Page 23 - kpiebook66004
P. 23

23



            ทิศูทางการเมืองของแนวคิดแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์ได้อย่างมีนัยสำคัญ เพิราะการให้ความสำคัญกับัประชาชนคงเป็น

            หลักฐานชั�นดีว่าสำหรับัลาคลาวและมูฟ เป้าหมายในการต่อสู้ของฝ่่ายซ้ายจะไม่ใช่เรื�องของการปฏิิวัติหรือล้มล้างระบัอบั
            การเมืองปัจจุบัันหากแต่จะเป็นการเคลื�อนไหวภายใต้เงื�อนไขของประชาธิ์ิปไตยซึ�งมีศููนย์กลางอยู่ที�อำนาจของประชาชน 40

                   กระนั�น ควรทราบัไว้ว่าแม้อาจให้ความสำคัญกับัประชาชน แต่ลาคลาวและมูฟก็ไม่เคยพิิจารณีาว่าประชาชน
            คือตัวตนที�ดำรงอยู่จริง ๆ เพิราะสำหรับัทั�งคู่ ประชาชน จะไม่ใช่อะไรเลยนอกจากชื�อหรือรูปสัญญะที�ถูกใช้เพิื�อ

            สื�อไปถึงความต้องการของผู้คนทั�งหมดในสังคม ประชาชนจึงเป็นสิ�งที�ต้องถูกสร้างมากว่าจะเป็นเรื�องของ “ตัวจริง”
                                                          41
            ผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิ์ิปไตยในระบัอบัประชาธิ์ิปไตย  การเคลื�อนไหวทางการเมืองแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์จึงไม่ใช่
            การเคลื�อนไหวเพิื�อเป็นตัวแทนของประชาชน (เหมือนกับัการเคลื�อนไหวแบับัลัทธิ์ิมาร์กซ์ดั�งเดิมที�จะอ้างว่าเป็น

            ตัวแทนของชนชั�นกรรมาชีพิที�ถูกขูดรีด) แต่คือการเคลื�อนไหวที�มุ่งก่อร่างสร้างประชาชนผ่านปฏิิบััติการแห่ง
            อำนาจนำซึ�งเน้นการเชื�อมต่อวาระทางการเมืองของตนเองเข้ากับักลุ่มต่าง ๆ จนเข้าถึงพิลังประชานิยม และ

            สถาปนาเป็นการเคลื�อนไหวในนามของ “ประชาชน” ในท้ายที�สุด
                   นั�นจึงไม่แปลกที�สุดท้ายแล้ว การเคลื�อนไหวแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์จะถูกเข้าใจว่าเป็นการเคลื�อนไหวตาม

            แนวทางของซ้ายประชานิยม ที�ให้ความสำคัญกับัการก่อร่างสร้างประชาชนเพิื�อดึงเอาพิลังประชานิยมมาเป็นฐานสำคัญ
            สำหรับัเปลี�ยนแปลงและสร้างสังคมการเมืองที�สนองตอบัต่อความปรารถนาของทุกคน และก็คงไม่แปลกอีกเช่นที�

            การเคลื�อนไหวดังกล่าวจะมีลักษณีะคล้ายคลึงกับัการเคลื�อนไหวของฝ่่ายขวาคลั�งชาติ ซึ�งเน้นขับัเคลื�อนขบัวนการ

                                                                                                           42
            ผ่านการอ้างอิงกลับัไปถึงพิลังของประชาชนควบัคู่ไปกับัการจัดตั�งปรปักษ์ของประชาชนในฐานะปรปักษ์ของชาติ
            อย่างไรก็ตาม แม้การเคลื�อนไหวแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์ อาจดูเป็นการเคลื�อนไหวแบับัประชานิยมที�ขับัเคลื�อนด้วยการ

            กำหนดปรปักษ์ของประชาชน แต่การขีดเส้นเพิื�อกำหนดปรปักษ์ของประชาชนดังกล่าว ก็กลับัแตกต่างไปจากการเคลื�อนไหว
            ของพิวกฝ่่ายขวาคลั�งขาติ เพิราะในขณีะที�การกำหนดปรปักษ์ของประชาชนตามแบับัของฝ่่ายขวาจะเป็นการกำหนด

            บันการแบั่งแยกตามเส้นแนวตั�งระหว่างพิวกที�ร่วมชาติ ร่วมเผ่าพิันธิ์ุ์เดียวกันกับัพิวกที�อยู่กันคนละเผ่าพิันธิ์ุ์ คนละชาติ
            การกำหนดปรปักษ์ของประชาชนตามแนวทางของลาคลาวและมูฟจะเป็นการกำหนดบันการแบั่งแยกแนวนอน

            ระหว่างคนส่วนใหญ่ในสังคมที�ถูกกดขี�กับัอภิสิทธิ์ิ�ชนที�คอยกดขี�พิวกเขา การเคลื�อนไหวประชานิยมแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์

            จึงไม่ใช่การเคลื�อนไหวที�อ้างอิงไปถึงความบัริสุทธิ์ิ�ทางชาติพิันธิ์์ แต่จะเป็นการเคลื�อนไหวที�มุ่งล้มล้างอภิสิทธิ์ิ�ชน
            ด้วยการนำเสนอและเผยแพิร่ให้ความเสมอภาคเป็นเป้าหมายปลายทางของทุกคนในสังคม

                   แต่การเคลื�อนไหวที�มุ่งแบั่งแยกระหว่างประชาชนกับัอภิสิทธิ์ิ�ชน (ในฐานะปรปักษ์ของประชาชน) จะเกิดขึ�น
            ได้อย่างไร? อะไรคือแนวทางยุทธิ์ศูาสตร์ที�ช่วยให้การเคลื�อนไหวแบับัซ้ายประชานิยมดังกล่าวเป็นไปได้? เพิื�อจะ

            ตอบัคำถามดังกล่าว บัทถัดไปจะเป็นการนำเสนอรูปธิ์รรมของการเคลื�อนไหวแบับัซ้ายประชานิยมที�ขับัเคลื�อน
            ผ่านการกำหนดปรปักษ์ของประชาชนตามการแบั่งแยกแนวนอน เพิื�อแสดงให้เห็นถึงองค์ประกอบัต่าง ๆ ที�ทำให้

            การเคลื�อนไหวดังกล่าวเป็นไปได้ไม่ว่าจะในบัริบัทของสังคมการเมืองยุโรปอย่างในกรณีีของประเทศูสเปนและกรีซ

            หรือในบัริบัทที�อำนาจของประชาชนอาจยังไม่ได้ตั�งมั�นอย่างในสังคมการเมืองไทย ดังที�จะได้อธิ์ิบัายให้เห็นต่อไป



            40 สำหรับัความสัมพิันธิ์์ระหว่างประชาชนและหลักการขั�นพิื�นฐานของประชาธิ์ิปไตย สามารถดูเพิิ�มเติมได้ใน Andreas Kalyvas,
            “Constituent Power”, in Political Concepts: A Critical Lexicon, J.M. Bernstein, Adi Ohhir, and Ann Laura Stoler(Edited)
            (New York: Fordham University Press,2018)
            41  Laclau and Mouffe, Hegemony and Socialist Strategy: Towards a Radical Democratic Politics, pp. 138-139.
            42 ดูตัวอย่างการเคลื�อนไหวแบับัฝ่่ายขวาที�จัดวางให้ปรปักษ์ของประชาชนมีลักษณีะเป็นปรปักษของชาติได้ใน Michael Mann, The
            Dark side of Democracy: Explaining Ethnic Cleansing (reprinted edition) (Cambridge: Cambridge University Press, 2004)
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28