Page 18 - kpiebook66004
P. 18
18
การศูึกษาแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์ที�เน้นปลดปล่อยไวยากรณี์ทางการเมืองออกจากกำกับัของวิธิ์ีคิดแบับัเศูรษฐกิจ
กำหนด หัวใจสำคัญก็คงเป็นอย่างอื�นไปเสียมิได้ นอกจากการปลดปล่อยแนวคิดเรื�องอำนาจนำจากพิันธิ์นาการ
ทางทฤษฎีของลัทธิ์ิมาร์กซ์ดั�งเดิม การปลดปล่อยซึ�งทั�งคู่เล็งเห็นว่าสามารถเป็นไปได้ผ่านการประยุกต์ใช้แนวคิด
เรื�องวาทกรรมหรือ discourse ซึ�งเป็นแนวคิดยอดนิยมของมิเชล ฟูโกต์ (Michel Foucault) หนึ�งในนักปรัชญา
และทฤษฎีที�โด่งดังที�สุดในช่วงครึ�งหลังของศูตวรรษที�ยี�สิบั
แน่นอน สำหรับัผู้ที�คุ้นเคยกับัข้อเขียนหรือติดตามงานศูึกษาด้านสังคมศูาสตร์มาบั้าง คงทราบักันเป็น
อย่างดีถึงชื�อเสียงของฟูโกต์ ตลอดไปจนถึงกรอบัแนวคิดเรื�องวาทกรรมอันหมายถึงปฏิิบััติการของอำนาจภายใต้
เป้าหมายสำคัญอย่างการผลิตสร้างตัวตนหรือ subject ให้มีวิถีชีวิตและโลกทัศูน์สอดคล้องไปตามแนวทางที�
อำนาจบังการ อย่างไรก็ตาม แม้วาทกรรมอาจเป็นแนวคิดของฟูโกต์ที�ได้รับัความนิยม มีผู้นำไปประยุกต์ใช้กัน
23
อย่างแพิร่หลาย แต่คำอธิ์ิบัายถึงวาทกรรมของฟูโกต์ตามที�ลาคลาวและมูฟเลือกมาประยุกต์ใช้นั�น จะเป็น
คำอธิ์ิบัายในช่วงทศูวรรษที� 1960 ซึ�งเป็นช่วงที�แนวคิดเรื�องวาทกรรมยังไม่ได้คลี�คลายไปเป็นความเข้าใจเรื�อง
ปฏิิบััติการของอำนาจ หากแต่จะยังคงเป็นเรื�องที�เกี�ยวข้องกับัปฏิิบััติการทางภาษา (discursive practice) ที�ส่งผล
ต่อการประกอบัสร้างชุดความรู้อันจะส่งผลกำหนดอัตลักษณี์ ตัวตน ตลอดจนนิยามความจริงของสรรพิสิ�งต่าง ๆ
ดังที�ลาคลาวได้อธิ์ิบัายให้เห็นว่าตามทัศูนะของเขาแล้ว หัวใจสำคัญในแนวคิดเรื�องวาทกรรมของฟูโกต์ก็คือปฏิิบััติ
การทางภาษาที�ผลิตสร้างความรู้ซึ�งส่งผลก่อร่างเป็นความหมายให้กับัสรรพิสิ�งและโลก 24
แต่อะไรคือแก่นแกนของสิ�งที�เรียกว่าวาทกรรม? ถ้าฟูโกต์อธิ์ิบัายว่าวาทกรรมคือปฏิิบััติการทางภาษา
อะไรคือปทัสถานที�กำกับัปฏิิบััติการดังกล่าว? ทั�งนี� ใน Archaeology of Knowledge (1969) งานเขียนสำคัญ
ที�รวบัยอดความคิดของตัวเขาในช่วงทศูวรรษที� 1960 ฟูโกต์ได้ไตร่ตรองและตกผลึกความคิดของตนจนชี�ให้เห็นว่า
แม้วาทกรรมอาจคือปฏิิบััติการทางภาษาที�ส่งผลในการผลิตความรู้ (และกำหนดความจริง) แต่ตัวเขาก็ไม่สามารถ
ระบัุเนื�อหาหน้าตาของปทัสถานที�คอยขับัเคลื�อนเป็นเบัื�องหลังกลไกการทำงานของวาทกรรมได้ จนต้องพิิจารณีาว่า
สิ�งที�อยู่เบัื�องหลังวาทกรรมนั�น จะไม่ใช่อะไรเลยนอกจากปฏิิบััติการทางภาษาที�วางอยู่บันการเชื�อมต่อ (articulation)
สร้างปฏิิสัมพิันธิ์์ระหว่าง องค์ประกอบัต่าง ๆ จนก่อเกิดเป็นชุดกติกา (regularity) ที�กำหนดทิศูทางการใช้ชีวิต
ของผู้คนในสังคมการเมือง ไม่ว่าจะเป็นความคิดรวบัยอด (concept) ที�ถูกนำเสนอผ่านข้อความ (statement)
ประเด็น (object) ที�ชุดภาษาในข้อความทำหน้าที�เป็นรูปสัญญะหมายไปถึง หรือสถานะและทีท่าของผู้ที�นำ
ข้อความไปพิูด (modalities of enounciation) ตลอดจนสถาบัันที�ให้การรองรับับัทบัาทและสถานะของผู้พิูดข้างต้น 25
ข้อพิิจารณีาดังกล่าวของฟูโกต์ นับัเป็นข้อพิิจารณีาสำคัญที�ลาคลาวและมูฟได้นำมาประยุกต์ต่อ ด้วยการสรุปเนื�อหา
ของวาทกรรมว่าคือผลของการเชื�อมต่อจากปฏิิบััติการทางภาษาที�ส่งผลให้ข้อความต่าง ๆ กลายเป็นความรู้และความจริง
วาทกรรมในฐานะของปฏิิบััติการทางภาษา (สำหรับัลาคลาวและมูฟ) จึงเป็นสิ�งที�ถูกพิิจารณีาต่อมาว่าเป็นปฏิิบััติ
การแห่งการเชื�อมต่อ หรือ articulatory practice กล่าวคือถ้าความรู้และความจริงเป็นผลมาจากปฏิิบััติการ
26
ทางภาษา สิ�งที�กำหนดว่าอะไรคือความรู้และความจริง ก็คงมิอาจเป็นเพิียงแค่ภาษาหรือชุดข้อความที�มีเนื�อหา
23 ผู้สนใจสามารถดูสรุปความเข้าใจตรงนี�ได้ใน Michel Foucault, “Truth and Power”, in Power: Essential Works of
Foucault 1954-1984 (Volume 3), Robert Hurley and others (translated), James Faubion (Edited)(London: Penguin
Books, 2020), pp.111-133
24 Ernesto Laclau, “Discourse”, in A Companion to Contemporary Political Philosophy (Second Edition), Robert
Goodin, PhilipPettit and Thomas Pogge(Edited)(Sussex: Wiley Blackwell, 2012), pp.544-545
25 Michel Foucault, The Archaeology of Knowledge, Sheridan Smith (Translated) (London: Routledge, 1989),
pp.80-84.
26 Laclau and Mouffe, Hegemony and Socialist Strategy: Towards a Radical Democratic Politics, p. 91.