Page 16 - kpiebook66004
P. 16
16
ความรู้ดังกล่าวนั�น ก็คือปฏิิบััติการทางการเมืองในการสร้างโลกทัศูน์ที�ส่งผลต่อการก่อรูปขององค์ประธิ์านจน
ทำให้สมาชิกของชนชั�นต่าง ๆ มองโลแบับัเดียวกัน ไม่ต่างไปจากคำอธิ์ิบัายถึงอุดมการณี์ตามมรรควิธิ์ีของอัลธิ์ูแซร์
ที�ให้ความสำคัญกับัการก่อรูปขององค์ประธิ์านดังที�อธิ์ิบัายไปก่อนหน้านี� 16
แน่นอน ข้อพิิจารณีาของมูฟที�นำเสนอว่าแนวคิดเรื�องอำนาจนำของกรัมชี�เป็นเรื�องเดียวกันกับัคำอธิ์ิบัายถึง
แบับัแผนและกลไกการทำงานของอุดมการณี์นั�น นับัเป็นข้อพิิจารณีาที�มีนัยสำคัญต่อแวดวงการศูึกษากลไก
การทำงานของอุดมการณี์ เพิราะข้อพิิจารณีาดังกล่าวมิเพิียงแต่ท้าทายฐานะอันยิ�งใหญ่ของอัลธิ์ูแซร์ในฐานะ
17
ผู้บัุกเบัิกการศูึกษากลไกการทำงานของอุดมการณี์ แต่ยังสร้างชุดคำอธิ์ิบัายที�ช่วยปลดปล่อยกลไกการทำงาน
ของอุดมการณี์ออกจากอิทธิ์ิพิลของการวิเคราะห์ภายใต้ความขัดแย้งทางเศูรษฐกิจได้อย่างสมบัูรณี์ ดังที�มูฟ
ได้นำเสนอให้เห็นว่าเมื�อพิิจารณีาผ่านกรอบัวิเคราะห์เรื�องอำนาจนำของกรัมชี� อุดมการณี์จะไม่ใช่ผลผลิตภายใต้
ความขัดแย้งทางชนชั�นอีกต่อไป หากแต่คือชุดของความคิด/ความรู้ถึงกฎเกณีฑ์์ต่าง ๆ ของโลกซึ�งเป็นผลจาก
ปฏิิบััติการทางการเมืองของการเชื�อมต่อ (articulation) ที�ปัญญาชนกลุ่มหนึ�งได้เชื�อมเอาบัางองค์ประกอบัในชุด
ความคิด/ความรู้ของกลุ่มต่าง ๆ ในสังคมมาต่อเข้ากับัชุดความคิด/ความรู้ของตนบันทิศูทางที�เอื�อประโยชน์ให้กับั
ฝ่่ายที�ตนสังกัด ดังที�มูฟได้กล่าวว่า:
“ถึงตรงนี� กรัมชี�ก็ได้ชี�ให้เห็นอย่างชัดเจนเป็นที�สุดว่า การปฏิิรูปทางภูมิปัญญาและศูีลธิ์รรมนั�นมิได้
ประกอบัด้วยการกวาดล้างโลกทัศูน์ (world-view) ที�มีอยู่อย่างราบัคาบั ก่อนจะแทนที�ทั�งหมดด้วยโลกทัศูน์
อันแตกต่างและได้รับัการสรรสร้างขึ�นมาใหม่ ตรงกันข้าม การปฏิิรูปทางภูมิปัญญาและศูีลธิ์รรมกลับัเป็น
เรื�องของกระบัวนการเปลี�ยนรูป...และการเชื�อมต่อใหม่ขององค์ประกอบัภายในอุดมการณี์ (Ideologicalelements)
ที�มีอยู่นั�นเอง (เพิราะ) สำหรับัเขาแล้ว ระบับัอุดมการณี์จะประกอบัไปด้วยรูปแบับัจำเพิาะของการเชื�อมต่อ
องค์ประกอบัภายในอุดมการณี์ที�จะจัดวางน�ำหนักให้แก่องค์ประกอบัส่วนหนึ�งส่วนใดเป็นพิิเศูษเหล่านั�น หากแต่
คือการเชื�อมต่อเนื�อหาทางอุดมการณี์นั�นเสียใหม่ด้วยการแยกองค์ประกอบัพิื�นฐานในอุดมการณี์ดังกล่าวออก
เป็นส่วน ๆ ตามด้วยตรวจดูองค์ประกอบัที�ถูกแยกมาเพิื�อพิิจารณีาว่าส่วนไหนที�เมื�อนำมาประกอบัเข้ากับั
เนื�อหาใหม่แล้วจะเหมาะสมเข้ากับัสถานการณี์ใหม่ ๆ ที�เกิดขึ�น...” 18
จากคำกล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่าหัวใจสำคัญของไวยากรณี์ทางการเมืองที�กำกับัการทำงานของอุดมการณี์
คือการเชื�อมต่อซึ�งประกอบัไปด้วยการตัดการเชื�อมต่อ (dis-articulation) ที�ปัญญาชนจะตัดบัางองค์ประกอบั
ภายในอุดมการณี์เดิมที�ดำรงอยู่ในสังคม ก่อนจะใส่องค์ประกอบัอื�น ๆ เพิื�อสร้างการเชื�อมต่อใหม่ (re-articulation)
16 Chantal Mouffe, “Hegemony and Ideology in Gramsci”. In Chantal Mouffe: Hegemony, Radical Democracy,
and the Political. James Martin (Edited)(Oxon: Routledge, 2013), pp. 23-31
17 ด้วยการช�ีให้เห็นว่ากรัมชี�ต่างหากที�เป็นผู้เข้าใจกลไกการทำงานของอุดมการณี์ก่อนที�อลัธิ์ูแซร์จะเล็งเห็นความสำคัญ และนำเสนอ
กรอบัทฤษฎีเพิื�อทำความเข้าใจอุดมการณี์อย่างเป็นเรื�องเป็นราวในภายหลัง (ดู Ibid, p.41)
18 แปลจากต้นฉบัับัภาษาอังกฤษที�วา่ “Here Gramsci indicates extremely clearly that intellectual and moral reform
does not consist in making a clean sweep of the existing world-view and in replacing it with a completely new and
already formulated one. Rather, it consists in a process of transformation…and of rearticulation of existing ideological
elements. According to him, an ideological system consists in a particular type of articulation of ideological elements
to which a certain ‘relative weight’ is attuned. The objective of ideological struggle is not to reject the system
and all its elements but to rearticulate it, to break it down to its basic elements and then to sift through past
conceptions to see which ones, with some changes of content, can serve to express the new situation…” ดู Ibid,
pp.34-35.