Page 19 - kpiebook66004
P. 19

19



            สื�อไปถึงคุณีลักษณีะของความรู้/ความจริง แต่จะต้องเป็นปฏิิบััติการ (practice) ที�เชื�อมต่อให้การใช้ชุดข้อความ

            ดังกล่าวมีน�ำหนัก ได้รับัการยอมรับัในช่วงเวลาหนึ�ง ๆ แต่อะไรคือคุณีลักษณีะสำคัญของการเชื�อมต่อ? ถ้าวาทกรรม
            เป็นเรื�องของการเชื�อมต่อ อะไรคือเงื�อนไขสำคัญที�ทำให้การเชื�อมต่อเป็นไปได้?

                   จริงอยู่ แม้อาจออกตัวด้วยการชี�ให้เห็นถึงสุญญากาศูของหลักปทัสถานที�คอยกำกับักลไกการทำงาน
            ของวาทกรรม แต่ฟูโกต์ก็มิได้มีทัศูนะแบับันักอนาธิ์ิปไตยทางญาณีวิทยาที�มองไม่เห็นความเกี�ยวเนื�องซึ�งทำให้

            องค์ประกอบัต่าง ๆ ทางภาษาถูกเชื�อมต่อเข้าด้วยกันจนก่อเกิดเป็นวาทกรรมที�คอยกำหนดความรู้และความจริง
            เพิราะถึงที�สุดแล้วทุก ๆ การเชื�อมต่อก็ล้วนแต่ต้องอาศูัยขอบัเขต (frontier) บัางอย่างที�ทำให้แต่ละองค์ประกอบั

            สามารถผูกโยงเข้าหากันได้ เพิียงแต่ในขณีะที�นักวิชาการโดยทั�วไปอาจอธิ์ิบัายขอบัเขตดังกล่าวผ่านคุณีลักษณีะ
            ที�สามารถจับัต้องมองเห็นได้ ฟูโกต์กลับัอธิ์ิบัายขอบัเขตตรงนี�ด้วยการชี�ให้เห็นถึงสิ�งที�ถูกขอบัเขตดังกล่าวกดทับั

                                                                                                     27
            ในฐานะความเป็นอื�นบัางอย่างที�ไม่มีตำแหน่งแห่งที�ในโครงข่ายการเชื�อมต่อที�ก่อร่างวาทกรรมขึ�นมา ในแง่นี�
            ถ้าวาทกรรมคือปฏิิบััติการทางภาษาอันเป็นผลมาจากการเชื�อมต่อองค์ประกอบัต่าง ๆ วาทกรรมก็คือการดำรง

            อยู่บันความสัมพิันธิ์์เชิงนิเสธิ์ที�ตัวมันเองปฏิิเสธิ์การดำรงอยู่ขององค์ประกอบับัางอย่างจนกีดกันให้องค์ประกอบั
            เหล่านั�นกลายเป็นความเป็นอื�นซึ�งถือเป็นเงื�อนไขตั�งต้นในการขีดเส้นแบั่งขอบัเขตและทำให้การเชื�อมต่อเป็นไปได้

                   นี�จึงเป็นเหตุผลที�ลาคลาวและมูฟได้อธิ์ิบัายต่อมาว่าหัวใจสำคัญของวาทกรรมนั�นจะไม่ใช่อะไรเลยนอกจาก
                                                                                             28
            การดำรงอยู่ของความเป็นอื�นซึ�งอยู่นอกเหนือ กระทั�งปฏิิเสธิ์การดำรงอยู่ของวาทกรรมเอง  และโดยอาศูัย
            ลักษณีะของความสัมพิันธิ์์เชิงนิเสธิ์นี� ทั�งลาคลาวและมูฟจึงพิิจารณีาการดำรงอยู่ของตัวตนหรือ subject ในฐานะ
            องค์ประธิ์านผู้เป็นจุดตั�งต้นให้กับัพิัฒนาการทางความรู้และความก้าวหน้าของมนุษยชาติว่าหาใช่การดำรงอยู่ที�

            ยึดโยงอยู่กับัคุณีสมบััติพิิเศูษภายในตัวตนดังกล่าว หากแต่เป็นผลลัพิธิ์์จากการเชื�อมต่อเข้ากับั subject position
            หรือตำแหน่งแห่งที�ซึ�งถูกสถาปนาโดยโครงข่ายทางวาทกรรมภายใต้ความสัมพิันธิ์์เชิงนิเสธิ์ต่อความเป็นอื�นต่าง ๆ ที�

            ทำให้ความเป็นองค์ประธิ์านมีคุณีลักษณีะอันชัดเจนในฐานะตัวตนที�ปฏิิเสธิ์ความเป็นอื�นเหล่านั�น  กล่าวในอีกแบับั
                                                                                             29
            ก็คือ ถ้าวาทกรรมเป็นปฏิิบััติการของการเชื�อมต่อที�เชื�อมร้อยองค์ประกอบัต่าง ๆ ในการใช้ภาษาเข้าไว้ด้วยกัน

            ปฏิิบััติการดังกล่าวก็คงมิอาจเป็นไปได้หากทุก ๆ องค์ประกอบัมิได้มีจุดร่วมสำคัญอย่างการดำรงอยู่ของความเป็น
            อื�นที�ทุก ๆ องค์ประกอบัเหล่านั�นต่างก็มีความสัมพิันธิ์์เชิงนิเสธิ์ร่วมกัน 30

                   จากตรงนี� ก็คงเล็งเห็นไม่ยากถึงแนวทางที�ลาคลาวและมูฟได้ปรับัประยุกต์เอาแนวคิดเรื�องวาทกรรมของ
            ฟูโกต์มาใช้เป็นแกนกลางสำหรับัพิัฒนารากฐานความคิดแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์ ด้วยการปลดปล่อยแนวคิด

            เรื�องอำนาจนำจากพิันธิ์นาการทางทฤษฎีของลัทธิ์ิมาร์กซ์ดั�งเดิมที�ลดทอนความขัดแย้งต่าง ๆ ในสังคมการเมือง
            ว่าเป็นเพิียงภาพิสะท้อนของความขัดแย้งทางชนชั�นบันการถือครองพิลังการผลิตที�ไม่เท่าเทียมกัน เพิราะภายใต้

            ข้อพิิจารณีาว่าความรู้และความจริงเป็นผลลัพิธิ์์จากการประกอบัสร้างโดยวาทกรรม ก็ย่อมหมายความต่อไปได้
            เช่นกันว่า การดำรงอยู่ของชนชั�นตลอดไปจนถึงความขัดแย้งทางชนชั�นเอง ก็หาใช่การดำรงอยู่ภายใต้กำกับัจาก

            ความขัดแย้งทางเศูรษฐกิจ แต่เป็นผลจากปฏิิบััติการของการเชื�อมต่อที�กลุ่มหรือฝ่่ายใดฝ่่ายหนึ�งได้เชื�อมต่อ



            27  Foucault, The Archaeology of Knowledge, pp.138-140.
            28 Laclau and Mouffe, Hegemony and Socialist Strategy: Towards a Radical Democratic Politics, pp. 92-93.
            29 Ibid, p. 95.
            30 ดังนั�นความเป็นอื�นตามที�ลาคลาวและมูฟอธิ์ิบัาย จึงไม่เคยเป็นเพิียงแค่ความแตกต่างหรือ difference เพิราะการดำรงอยู่
            ของตัวตนที�แตกต่างกันย่อมไม่ได้นำมาสู่การภาวะปฏิิเสธิ์ที�ต่างฝ่่ายต่างก็มุ่งทำลายล้างอีกฝ่่ายโดยอัตโนมัติความเป็นอื�นในที�นี�จึง
            หมายถึงการดำรงอยู่ของนิเสธิ์ต่อตัวตนที�นอกจากจะแตกต่างจากตัวตนแล้วยังส่งผลปฏิิเสธิ์หรือทำลายการคงอยู่ของตัวตนต่าง ๆ
            เองด้วย ibid, pp.108-113
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24