Page 24 - kpiebook66004
P. 24

24



                   บัทที� 3





                   กรณ์ีพรรคโปเดมอุส (Podemos) ในประเทศึสเปน



                   พิรรคโปเดมอส (Podemos: po’ðemos) เป็นพิรรคการเมืองในประเทศูสเปน ที�ก่อตั�งขึ�นเมื�อปี ค.ศู.2014 หรือ

            พิ.ศู.2557 เป็นพิรรคการเมืองที�ได้ชื�อว่าเป็นพิรรคการเมืองที�เป็นประชานิยมฝ่่ายซ้าย (left-wing populism) ที�มีชื�อเสียง
            ที�สุดพิรรคหนึ�งของโลก ซึ�งชื�อโปเดมอสนั�น เป็นภาษาสเปน ที�แปลเป็นภาษาอังกฤษว่า “we can” หรือภาษาไทย

            ว่า “เราทำได้” ซึ�งก่อนจะถึงปรากฎการณี์ของการมีบัทบัาทของอุดมการณี์ประชานิยมฝ่่ายซ้ายนั�น เราควรต้องศูึกษา
            ถึงบัริบัททางการเมืองของสเปน ในช่วงก่อนการเกิดขึ�นของพิรรคโปเดมอส ว่ามีปัญหาทั�งการเมืองและเศูรษฐกิจ

            ในแง่ใดเกิดขึ�น ที�ก่อเป็นเงื�อนไขของการเกิดขึ�นของพิรรคการเมืองในลักษณีะประชานิยมฝ่่ายซ้ายในลักษณีะนี�
                   และเนื�องจากปี ค.ศู.2011 หรือ พิ.ศู.2554 นั�น เป็นปีที�มีความสำคัญต่อการเคลื�อนไหวทางสังคม (social

            movement) ในรูปแบับัการชุมนุมที�มีลักษณีะต่อต้าน ไม่ว่าจะเป็นการต่อต้านรัฐ ต่อต้านทุนนิยม หรือต่อต้าน
            ความรุนแรง มีการชุมนุมที�สำคัญที�เป็นเสมือนสัญลักษณี์ของช่วงเวลานี�มากมาย ในหลายสถานที�ทั�วโลก ไม่ว่าจะเป็น

            Occupy Wall Street ที�เมืองนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ขบัวนการ indignados ในสเปน aganaktismenoi ในกรีซ
            อิตาลี อังกฤษ เยอรมนี ซึ�งมักจะมีเป้าหมายไปที�ตลาดหุ้น หรือสัญลักษณี์ของระบับัเศูรษฐกิจแบับัทุนนิยม

            ล้วนแล้วแต่เป็นการประท้วงของประชาชนเพิื�อตอบัโต้กับัภาวะความเหลื�อมล�ำที�เกิดขึ�นทั�วไปในสังคมโลก และ
            พิุ่งเป้าไปยังนโยบัายรัดเข็มขัดและเข้มงวดทางเศูรษฐกิจของรัฐบัาล (anti-austerity policies) ซึ�งการเคลื�อนไหวนั�น

            มีเป้าหมายเพิื�อการเปลี�ยนแปลงโลก โดยประชาชนที�มีจำนวนมากกว่ากลุ่มของผู้มีอำนาจและผู้ที�ถือทรัพิยากร
            ส่วนมากของโลก จึงเป็นที�มาของขบัวนการที�บัอกว่าตนนั�นเป็นกลุ่ม 99 เปอร์เซ็นต์ ที�ไม่ได้เป็นเจ้าของทรัพิยากร

                                                            43
            เหล่านั�น และถูกเอาเปรียบัโดยคนเพิียง 1 เปอร์เซ็นต์  ที�กุมทรัพิยากรไว้ การชุมนุมประท้วงเหล่านี� จึงเป็น
            ปรากฏิการณี์ที�เกิดขึ�นและส่งผลทำให้เกิดแรงผลักดันทางการเมืองขึ�นเป็นอย่างมาก ถือเป็นปรากฎการณี์ที�ริเริ�ม

            การเคลื�อนไหวที�สุดโต่ง (radical)  เพิราะประชาชนเริ�มตั�งคำถามกับัระบับัการเมืองเดิม ๆ ระบับัเศูรษฐกิจเดิม ๆ
                                         44


            43 การใช้คำกล่าวที�เป็นคล้ายกับัำขวัญที�ว่า 99% ปะทะ 1% (99% vs 1%) เป็นการบั่งบัองว่าการต่อสู้นั�น เป็นการต่อสู้ของ
            คนส่วนมากและคนส่วนน้อย ซึ�งมีที�มาจากการชุมนุม Occupy Wall Street ที�เมืองนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ในปี 2011 ซึ�ง
            เป็นการโต้ตอบัต่อนโยบัายรัดเข็มขัดและเสรีนิยมใหม่ โดยผู้ชุมนุมมักเรียกตัวเองว่าเป็นผู้ที�อยู่ใน 99% นั�น (We are the 99%)
            ข้อความดังกล่าวจึงมักปรากฏิอยู่ในป้ายที�ใช้ในการชุมนุม ใบัปลิว หรือเป็นโปสเตอร์ติดผนังซึ�งการต่อสู้สื�อความหมายว่าผู้ชุมนุม
            ที�เป็นตัวแทนที�หลอมรวมคนส่วนมากถึง 99%ที�มีรายได้ต�ำกว่า 1% อย่างชัดเจน และช่องว่างของรายได้ หรือ “จำนวนเงินในกระเป๋า”
            นั�นห่างกันอย่างมาก จึงแสดงถึงความไม่เท่าเทียมและความเหลื�อมล�ำทางเศูรษฐกิจที�มีมาก จนคนเพิียงแค่ 1% เท่านั�น ที�ถือครอง
            ความมั�งคั�ง และร�ำรวยนั�นเอง อย่างไรก็ดีการใช้หน่วยเป็นร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์นั�น ไม่ได้เป็นเพิียงการบั่งบัอกถึงรายได้แต่เพิียง
            อย่างเดียวแต่ยังหมายถึงองคป์ระกอบัอื�น ๆ ที�ทำให้พิวก 1% นั�นมีความมั�งคั�ง และยังอยู่สถานะที�ร�ำรวยได้ ดู ‘Who Exactly
            Are the 1%?’, The Economist, accessed 25 January 2023, https://www.economist.com/united-states/2012/01/21/
            who-exactly-are-the-1. จึงที�เป็นมาของขบัวนการประชานิยมฝ่่ายซ้ายที�จะกล่าวถึงต่อไป เนื�องจากเป็นการใช้คู่ตรงข้ามระหว่าง
            ผู้มีอำนาจ/ชนชั�นนำที�มีจำนวนน้อย ที�ต่อสู้กับัประชาชนคนธิ์รรมดาสามัญที�มีจำนวนมากกว่า
            44 Katsambekis and Kioupkiolis (eds.) (2019). The Populist Radical Left in Europe. Routledge: Oxford, UK, xi.
            ซึ�งคำว่า“สุดโต่ง” ซึ�งผู้วิจัย ที�ได้แปลจากภาษาอังกฤษคำว่า “radical” นั�น ในบัริบัทนี�ไม่ได้มีความหมายในเชิงลบัที�หมายถึงกลุ่ม
            หัวรุนแรงที�นิยมใช้ความรุนแรงในบัริบัทอื�น ๆ หากแต่หมายถึง การพิยายามยกระดับัให้คุณีค่าหนึ�ง ๆ นั�นมีความเข้มข้น (intensity)
            และมีความชัดเจนมากยิ�งขึ�น ซึ�งในบัริบัทของประชานิยมฝ่่ายซ้ายที�จะกล่าวถึงในงานวิจัย ชิ�นนี�จะหมายถึงการทำให้คุณีค่าของ
            ระบัอบัการปกครองแบับัประชาธิ์ิปไตยนั�นเข้มข้นขึ�น ไม่ว่าจะเป็นประเด็นของเสรีภาพิ ความเท่าเทียม หรือ ความยุติธิ์รรม เป็นต้น
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29