Page 27 - kpiebook66004
P. 27
27
เป็นพิรรคฝ่่ายค้านอย่างพิรรคคอมมิวนิสต์ กลุ่มสหภาพิแรงงาน กลุ่มนักศูึกษา หรือแม้แต่แรงงานนักบัวช ก็มี
54
ส่วนในการต่อต้าน “ระบัอบัฟรังโก้” ด้วยกันทั�งสิ�น ซึ�งนับัว่าเป็นการเห็นพิ้องต้องกันของประชาคมของสเปน
ในการเปลี�ยนผ่านดังกล่าว 55
โดยรัฐธิ์รรมนูญฉบัับัปี 1978 นั�น ได้มีการกำหนดระบับัเศูรษฐกิจที�มีตลาดเสรี และให้ความสำคัญกับั
ทรัพิย์สินส่วนบัุคคล อย่างไรก็ตาม ระบับัเศูรษฐกิจยังคงเป็นระบับัผสม เนื�องจากยังมีการให้อำนาจในการยึด
56
ทรัพิย์สินบัางอย่างได้เพิื�อประโยชน์ส่วนรวม รัฐธิ์รรมนูญดังกล่าวยังมีการเปิดโอกาสให้ผู้หญิงมีส่วนร่วมทางการเมือง
ได้มากขึ�น ถือเป็นการทำให้เกิดความเท่าเทียมระหว่างเพิศูขึ�นในสเปน ณี ขณีะนั�น ทำให้ไม่มีการแบั่งแยกหรือ
การเลือกปฏิิบััติระหว่างเพิศู เช่น สิทธิ์ิในการถือครองที�ดินและทรัพิย์สิน หรือสิทธิ์ิในการทำงาน ตลอดจนการเพิิ�ม
57
บัทบัาทของผู้หญิงในสายเลือดของราชวงศู์ จึงสามารถกล่าวได้ว่า การมีขึ�นและได้รับัการยอมรับัของรัฐธิ์รรมนูญ
ฉบัับันี� เป็นเสมือนหมุดหมายในการลงหลักปักฐานของประชาธิ์ิปไตยในสเปนสมัยใหม่ แม้ว่าจะมีการกล่าวว่า
ยุคสมัยของการเปลี�ยนผ่านนั�นจบัลงเมื�อเกิดการเปลี�ยนผ่านที�สงบัสันติในปี 1982 เมื�อมีการเปลี�ยนรัฐบัาลโดย
การเลือกตั�งจากพิรรค UCD (Union of the Democratic Centre) ไปสู่พิรรค PSOE (Spanish Socialist Workers’
Party) หลังจากปราศูจาคการรัฐประหารและอำนาจนอกระบับัที�เกิดขึ�น การลงหลักปักฐานจึงควรเกิดขึ�นหลังจาก
58
ที�ระบับัการเมืองนั�นมีความลงตัวแล้ว เช่น การเปลี�ยนแปลงรัฐบัาลโดยกติกาทางการเมืองเอง เป็นต้น ดังนั�น ในทศูวรรษ
ที� 1980 เป็นต้นมา นับัว่าประชาธิ์ิปไตยนั�นก็กลายเป็นการปกครองที�เป็นบัรรทัดฐานของสเปน
กระนั�นแม้ว่า สเปนจะมีรัฐธิ์รรมนูญที�เป็นประชาธิ์ิปไตยและมีระบับัการเมืองที�ค่อนข้างลงตัวแล้ว ปัญหา
ที�มักจะตามมาหลังจากที�รัฐหนึ�ง ๆ เปลี�ยนแปลงมาสู่ระบัอบัประชาธิ์ิปไตยก็คือปัญหาในการจัดการทรัพิยากร
ทางเศูรษฐกิจ จริงอยู่ว่าความเท่าเทียบัทางเพิศู สิทธิ์ิในการเลือกตั�ง สิทธิ์ิในการทำงาน หรือเสรีภาพิขั�นพิื�นฐานนั�น
อาจเป็นสิทธิ์ิขั�นพิื�นฐานอันพิึงมีได้ของพิลเมืองในรัฐที�มีการปกครองในระบัอบัประชาธิ์ิปไตย แต่ขณีะเดียวกัน
ประเด็นเรื�องเศูรษฐกิจที�เป็นตัวกำหนดความเป็นอยู่ของปากท้องก็สำคัญไม่แพิ้กัน ในปี 2008 เกิดวิกฤตการณี์
ทางเศูรษฐกิจครั�งใหญ่ ซึ�งส่งกระทบักันทั�งโลก แม้ว่าวิกฤตทางการเงินนั�น จะเป็นผลมาจากการซื�อขายบั้าน และ
การจำนองที�อยู่อาศูัย (mortgage) แต่สิ�งเหล่านั�นก็ปฏิิเสธิ์ไม่ได้ว่าเป็นผลมาจากการดำเนินนโยบัายเศูรษฐกิจ
แบับัเสรีนิยมใหม่ หรือการก่อตัวของอำนาจนำของเสรีนิยมใหม่ (neoliberal hegemonic formation) ส่งผล
59
54 Ibid., 253.
55 ณีรจญา ตัญจพิัฒน์กุล, ‘อ่านสเปน กับั นุชธิ์ิดา ราศูีวิสุทธิ์ิ� ’, The 101 World (blog), 22 October 2020, https://www.
the101.world/nuchthida-rasiwisut-interview/.
56 Radcliff, Modern Spain, 260.
57 Ibid.
58 Ibid., 261-262,264.
59 เป็นคำที� Chantal Mouffe ใช้ในการก่อตัวของอุดมการณี์และการดำเนินนโยบัายทางเศูรษฐกิจแบับัเสรีนิยมใหม่ ที�เริ�มมา
ตั�งแต่ทศูวรรษที� 1980 ซึ�ง Mouffe กล่าวว่าการก่อตัวขึ�นของเสรีนิยมใหม่ดังกล่าวจะตามมาด้วยการตอบัโต้ของประชาชน ที�จะมา
ในรูปแบับัของห้วงเวลาหรือจังหวะของประชานิยม เนื�องจากการก่อตัวของอำนาจนำของเสรีนิยมใหม่นั�นจะทำไปสู่สภาวะหลังการเมือง
(post-politics) และสภาวะหลังประชาธิ์ิปไตย (post-democracy) ซึ�งเป็นสภาวะทางการเมืองที�ความเป็นการเมืองไม่มีความหมาย
การมีสภาไม่มีความหมายการเลือกตั�ง ไม่มีความหมาย เพิราะจะเลือกพิรรคการเมืองขั�วใด ไม่ว่าซ้ายหรือขวา ก็จะได้
พิรรคการเมืองที�ดำเนินนโยบัายไม่ต่างกัน กล่าวคือปฏิิบััติตามกลไกของเสรีนิยมใหม่ทั�งสิ�น ไม่ว่าใครมีอำนาจก็มีแนวทางคล้าย
กันทางแก้จึงคือการทำให้ความเป็นการเมืองนั�นกลับัคืนมา โดยใช้กระบัวนการที�เป็นการเมืองในการสร้างแนวหน้าทางการเมือง
ของประชาชน ทำให้ประชาธิ์ิปไตยนั�นหยั�งรากลึกมากยิ�งขึ�น หรือที�เรียกว่า “radicalising democracy” โดยทำให้ประชาชนนั�น
ครองอำนาจนำให้ได้ ดู Mouffe, For a Left Populism, 11-12,16-18.