Page 22 - kpiebook66004
P. 22
22
ด้วยเหตุนี� จึงอาจกล่าวสรุปได้ว่า ถ้าแกนหลักในวิธิ์ีคิดแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์คือการปลดปล่อยไวยากรณี์
ทางการเมืองจากพิันธิ์นาการทางทฤษฎีที�ยึดเงื�อนไขทางเศูรษฐกิจเป็นแกนหลัก และถ้ารูปธิ์รรมของการปลดปล่อย
ดังกล่าวคือการนำเสนอแบับัแผนการทำงานของอำนาจนำเสียใหม่ว่าเป็นเรื�องของการเชื�อมต่อผ่านการกำหนดจุดยึด
ทางอัตลักษณี์และปรปักษ์ผู้เป็นภัยต่อจุดยึดทางอัตลักษณี์นั�น ๆ ก็คงไม่ใช่เรื�องแปลกหากจะรวบัยอดหัวใจสำคัญ
ในวิธิ์ีคิดแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์ว่าคือการช่วงชิงการนำ ผ่านการนิยามความหมายของสัญลักษณี์ซึ�งมีนัยถึงองคาพิยพิ
ทั�งหมดของสังคม ให้สอดคล้องไปกับัแนวทางหรือวาระทางการเมืองที�ตนต้องการ แต่อะไรคือสัญลักษณี์ที�ลาคลาว
และมูฟเห็นว่าสามารถทำหน้าที�เป็นจุดยึดทางอัตลักษณี์ได้? ถ้าสัญลักษณี์อันเป็นเวทีสำคัญในการช่วงชิงอำนาจนำ
คือรูปสัญญะที�แม้อาจไม่มีความหมายชัดเจนแต่ก็มีนัยถึงองคาพิยพิทั�งหมดของสังคม สัญลักษณี์ดังกล่าวจะถูก
ขับัเคลื�อนด้วยรูปสัญญะใด?
2.3 สรุป: จัากหลังลัทธิ์ิมาร์กซ้์สู่ประช้านิยมฝ่่ายซ้้าย และพันธิ์กิจัขอุงการสร้างประช้าช้น
งานวิจัยบัทนี�ถูกเขียนขึ�นมาเพิื�อนำเสนอที�มาและพิัฒนาการทางความคิดของผู้ที�ได้ชื�อว่าให้กำเนิดทฤษฎีซ้าย
ประชานิยมอย่างเออร์เนสโต ลาคลาวและชองตาล มูฟ โดยเนื�อหาส่วนใหญ่ของบัทนี�จะกล่าวถึงความพิยายาม
ของลาคลาวและมูฟในการยกระดับัทฤษฎีการเคลื�อนไหวของฝ่่ายซ้าย จากที�เคยตกอยู่ภายใต้อิทธิ์ิพิลของลัทธิ์ิ
มาร์กซ์ดั�งเดิมซึ�งเน้นเงื�อนไขทางเศูรษฐกิจเป็นตัวกำกับัไปสู่ทฤษฎีหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์ที�ให้ความสำคัญกับัไวยากรณี์
ทางการเมืองซึ�งก็คือปฏิิบััติการของการครองอำนาจนำที�เน้นการเชื�อมต่อเพิื�อสร้างอัตลักษณี์ร่วมหมู่ที�จะขับัเคลื�อน
การเปลี�ยนแปลงในสังคมการเมืองผ่านการกำหนดจุดยึดทางอัตลักษณี์และปรปักษ์ต่อจุดยึดดังกล่าว
นั�นจึงไม่แปลกที�การเคลื�อนไหวภายใต้กำหนดของทฤษฎีแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์จะไม่ใช่การเคลื�อนไหว
ซึ�งเน้นจิตสำนึกและความขัดแย้งทางชนชั�นเป็นหลัก เพิราะถ้าแก่นแกนของแนวคิดแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์คือการ
ปลดปล่อยแนวคิดเรื�องอำนาจนำออกจากพิันธิ์นาการทางทฤษฎีที�ยึดเงื�อนไขทางเศูรษฐกิจเป็นสำคัญ ชนชั�นซึ�ง
เป็นแนวคิดที�ผูกพิันโดยตรงกับัเงื�อนไขความขัดแย้งทางเศูรษฐกิจก็ย่อมจะต้องถูกลดบัทบัาทตามไปด้วย แต่ถ้า
การเคลื�อนไหวแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์ไม่ใช่การเคลื�อนไหวในนามของชนชั�นผู้ถูกขูดรีด การเคลื�อนไหวดังกล่าวจะ
เป็นการเคลื�อนไหวในนามของอะไร? ถึงตรงนี� ทั�งลาคลาวและมูฟก็ได้ชี�ให้เห็นถึงองค์ประกอบัหนึ�งที�ดำรงอยู่ใน
แนวคิดเรื�องอำนาจนำของกรัมชี� ซึ�งแม้ตัวกรัมชี�อาจไม่ได้ยกระดับั แต่ทั�งคู่ก็เห็นถึงศูักยภาพิอันเปี�ยมล้นขององค์
ประกอบัดังกล่าว นั�นก็คือการดำรงอยู่ของ populism หรือพิลังประชานิยม อันเป็นพิลังซึ�งเป็นแกนหลักในการ
ก่อตัวของอัตลักษณี์ทางการเมืองที�ผสานดำรงอยู่ร่วมกันกับัองคาพิยพิต่าง ๆ ในสังคมการเมือง ดังที�มูฟเคยชี�
38
ให้เห็นอย่างน่าสนใจว่าถ้าตัดความจำเป็นทางยุทธิ์ศูาสตร์ที�ต้องให้น�ำหนักกับัการต่อสู้ทางชนชั�น รากฐานสำคัญ
ในแนวคิดเรื�องอำนาจนำของกรัมชี�ก็คือการดำรงอยู่ของสิ�งที�เรียกว่า national-popular หรือประชา-ชาติ ในฐานะ
พิื�นที�และเงื�อนไขที�ทำให้การครองอำนาจนำประสบัผลสำเร็จ ซึ�งก็คือการที�วาระทางการเมืองของกลุ่มใดกลุ่มหนึ�ง
ประสบัผลสำเร็จกลายเป็นวาระร่วมทางสังคมที� “ประชาชน” ทุกคนเห็นด้วย 39
ในแง่นี� จึงอาจกล่าวแบับัรวบัยอดได้ว่าถ้าการเคลื�อนไหวในแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์ไม่ใช่การเคลื�อนไหวที�อาศูัย
ชนชั�นเป็นพิลังขับัเคลื�อน การเคลื�อนไหวดังกล่าวก็คือการเคลื�อนไหวภายในพิลังประชานิยมโดยมีเป้าหมายสำคัญคือ
การเชื�อมต่อเพิื�อทำให้วาระทางการเมืองของกลุ่มหนึ�งได้รับัการยอมรับัจนกลายเป็นความต้องการของ “ประชาชน” แน่นอน
ข้อเสนอของลาคลาวและมูฟที�หันมาให้ความสำคัญกับัประชาชนแทนที�ชนชั�นผู้ถูกขูดรีดนี�ย่อมเป็นเข็มทิศูบั่งบัอก
38 Laclau and Mouffe, Hegemony and Socialist Strategy: Towards a Radical Democratic Politics, p. 123.
39 Mouffe, “Hegemony and Ideology in Gramsci”. p. 37