Page 17 - kpiebook66004
P. 17
17
จนทำให้ได้อุดมการณี์ชุดใหม่ ที�แม้อาจไม่ได้นำเสนอกฎเกณีฑ์์ใหม่ของโลกในแบับัพิลิกฟ้าคว�ำดิน แต่ก็เพิียงพิอที�จะ
หันเหและทำให้ผู้คนในสังคมการเมืองเกิดโลกทัศูน์และความเข้าใจต่อปรากฏิการณี์ต่าง ๆ ในสังคมที�แตกต่างไป
จากเดิม ในแง่นี� อุดมการณี์ตามที�มูฟนำเสนอผ่านแนวคิดเรื�องอำนาจนำของกรัมชี� จึงไม่ได้ขึ�นอยู่หรือเป็นส่วนหนึ�ง
19
ของความสัมพิันธิ์์ภายใต้ปัจจัยทางเศูรษฐกิจ หากแต่เป็นเรื�องของความสามารถทางการเมืองในการเชื�อมต่อ/
ตัดการเชื�อมต่อ/สร้างการเชื�อมต่อใหม่ ที�จะไม่ได้ขึ�นอยู่กับัคุณีสมบััติทางชนชั�นแต่อย่างใด ดังที�มูฟได้เน้นย�ำ
ว่าการที�ชนชั�นหนึ�ง ๆ สามารถสถาปนาตนเองเป็นชนชั�นนำ ซึ�งสามารถใช้อุดมการณี์ของตนครอบังำชนชั�น
อื�น ๆ นั�น มิใช่เพิราะคุณีลักษณีะพิิเศูษทางชนชั�นที�สามารถผูกขาดเนื�อหาทางอุดมการณี์เพิื�อครอบังำชนชั�นอื�น ๆ
หากแต่เป็นเพิราะความสามารถของปัญญาชนซึ�งนิยามตนเองเข้ากับัชนชั�นนั�นต่างหาก ที�สามารถดัดแปลงเชื�อม
ต่อความคิด/ความรู้ต่าง ๆ ให้กลายเป็นอุดมการณี์ที�แม้ด้านหนึ�งจะสอดคล้องไปกับัผลประโยชน์ของผู้คนทั�ว ๆ ไป
แต่ขณีะเดียวกันก็จะมีส่วนเกื�อหนุนผลประโยชน์ให้กับัชนชั�นของตน 20
ด้วยเหตุนี� จึงไม่ใช่เรื�องแปลกที�แม้แรงบัันดาลใจตั�งต้นในการพิัฒนาทฤษฎีการเมืองแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์
ของลาคลาวและมูฟจะมาจากมรรควิธิ์ีในการศูึกษาอุดมการณี์ของอัลธิ์ูแซร์ แต่แก่นแกนทางความคิดอันเปรียบัได้
กับักระดูกสันหลังทางทฤษฎีของทั�งคู่กลับัวางอยู่บันแนวคิดของกรัมชี�เรื�องอำนาจนำ อันเป็นแนวคิดที�นอกจากจะ
ปลดปล่อยคำอธิ์ิบัายถึงกลไกการทำงานของอุดมการณี์จากอิทธิ์ิพิลของวิธิ์ีคิดที�ยึดเศูรษฐกิจเป็นปัจจัยกำหนดแล้ว
ยังนำเสนอกรอบัวิเคราะห์ที�ช่วยรวบัยอดไวยากรณี์ทางการเมืองเบัื�องหลังกลไกการทำงานของอุดมการณี์ดังกล่าว
ให้ปรากฏิเด่นชัดตามไปด้วย อย่างไรก็ตาม ควรกล่าวในที�นี�ว่าแม้อาจเป็นรากฐานที�ลาคลาวและมูฟใช้ปรับัเปลี�ยน
และยกระดับัทฤษฎีของมาร์กซ์จนก่อเกิดเป็นแนวคิดแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์ แต่ก็ต้องไม่ลืมว่าการกล่าวถึงอำนาจ
นำของกรัมชี�นั�น ถึงที�สุดแล้วก็คือการกล่าวถึงภายใต้บัริบัททางยุทธิ์ศูาสตร์ที�มุ่งให้พิรรคคอมมิวนิสต์ประสบั
ชัยชนะในทางการเมือง ดังนั�น ทั�ง ๆ ที�อุดมการณี์ภายใต้กำกับัจากแนวคิดเรื�องอำนาจนำของกรัมชี�อาจไม่จำเป็น
ต้องมีเนื�อหาเกี�ยวข้องกับัการต่อสู้ทางชนชั�น(ดังที�มูฟได้แสดงให้เห็น) แต่ก็ย่อมเป็นสิ�งที�หลีกเลี�ยงไม่ได้ที�
ตัวกรัมชี�เองจะยังพิิจารณีาประเด็นนี�ว่าเป็นส่วนหนึ�งของการต่อสู้ทางชนชั�นที�มีชนชั�นกรรมาชีพิเป็นตัวแสดงหลัก 21
ในแง่นี� เพิื�อยกระดับัทฤษฎีของมาร์กซ์ให้สอดคล้องไปกับัแนวทางแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์อย่างสมบัูรณี์
ทั�งลาคลาวและมูฟจึงจำเป็นต้องพิิจารณีากลวิธิ์ีที�จะช่วยปลดปล่อยไวยากรณี์ทางการเมือง(ซึ�งกำกับักลไกของ
อุดมการณี์) ออกจากกำกับัทางยุทธิ์ศูาสตร์ของการต่อสู้ทางชนชั�น การพิิจารณีาที�จะนำพิาทั�งคู่ไปสู่แนวคิดเรื�องวาทกรรม
และการพิิจารณีาองค์ประธิ์านภายใต้จารีตทางปรัชญาแบับัหลังโครงสร้างนิยม ดังที�จะได้ชี�ให้เห็นในส่วนต่อไป
2.2 วิาทกรรม การเช้ื�อุมต์่อุ และอุำนาจันำในฐานะแกนกลางขอุงแนวิคิดแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ้์
ในงานเขียนเรื�อง Hegemony and Socialist Strategy (1985) อันเป็นงานเขียนที�บัุกเบัิกและจัดวาง
เส้นทางทฤษฎีการเมืองแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์ ลาคลาวและมูฟได้ชี�ให้เห็นว่าด้วยอิทธิ์ิพิลจากวิธิ์ีคิดเชิงยุทธิ์ศูาสตร์
ที�ให้ความสำคัญกับัการปลดแอกของชนชั�นกรรมาชีพิ จึงทำให้แนวคิดเรื�องอำนาจนำถูกจำกัดศูักยภาพิไว้ภายใต้
เพิดานความคิดซึ�งยึดเงื�อนไขทางเศูรษฐกิจเป็นปัจจัยกำหนด ด้วยเหตุนี� บันเป้าหมายของการสถาปนาแนวทาง
22
19 Ibid, pp.35-37.
20 Ibid, p.37
21 Ibid, p.42.
22 Ernesto Laclau and Chantal Mouffe, Hegemony and Socialist Strategy: Towards a Radical Democratic Politics
(London:Verso, 1985), pp. 65-78.