Page 12 - kpiebook66004
P. 12
12
3
ให้สอดคล้องไปกับัสถานการณี์และความจำเป็นของยุคสมัย คำว่าหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์ จึงไม่ควรถูกเข้าใจว่าเป็นการ
ทอดทิ�งหรือปฏิิเสธิ์ลัทธิ์ิมาร์กซ์ แต่ควรได้รับัความเข้าใจว่าเป็นหนึ�งในความพิยายามของผู้ที�เติบัโตภายใต้
ลัทธิ์ิมาร์กซ์เองที�ต้องการปรับัเปลี�ยนและทำให้แนวคิด/ทฤษฎีของลัทธิ์ิมาร์กซ์ยังทันสมัยใช้การได้ในยุคของตน
ด้วยเหตุนี� การทำความเข้าใจรากฐานทางความคิดและจุดยืนซึ�งตั�งคำถามจนนำไปสู่การบัุกเบัิกทฤษฎี
การเมืองแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์ของลาคลาวและมูฟ จึงไม่อาจแยกขาดจากการทำความเข้าใจบัริบัทของยุคสมัยที�
กำกับัเส้นขอบัฟ้าความคิดของทั�งคู่ โดยเฉพิาะบัริบัททางการเมืองซึ�งผลให้ทั�งลาคลาวและมูฟ มองเห็นขีดจำกัด
ทางทฤษฎีของลัทธิ์ิมาร์กซ์ทีไม่สามารถตอบัสนองไปกับัสถานการณี์ทางการเมืองในขณีะนั�นได้ โดยสถานการณี์
ทางการเมืองดังที�ว่านี�ก็คือความไร้น�ำยาของฝ่่ายซ้ายในการผนวกและประสานความไม่พิอใจของผู้คนทั�ว ๆ ไป
ในสังคมการเมืองเพิื�อขับัเคลื�อนขบัวนการที�มุ่งล้มล้างระบัอบัการเมืองอันไม่เป็นธิ์รรมภายใต้การนำของพิวกตน
สำหรับัลาคลาวแล้ว ความไร้น�ำยาดังกล่าวจะปรากฏิให้เห็นเป็นรูปธิ์รรมผ่านประสบัการณี์อันล้มเหลวของตัวเขา
ในฐานะอดีตนักกิจกรรมชาวอาร์เจนติน่าผู้เป็นส่วนหนึ�งของขบัวนการเคลื�อนไหวปีกซ้ายแห่งพิรรคสังคมนิยม
ฝ่่ายซ้ายแห่งชาติ (El Partido Socialista de la Izquierda Nacional: PSIN) ในช่วงทศูวรรษที� 1960 ซึ�งแม้
อาจมีเป้าหมายที�มุ่งปลดปล่อยประเทศูอาร์เจนติน่าจากระบัอบัทุนนิยมที�กดขี�และเป็นต้นตอความของเหลื�อมล�ำ
ภายในประเทศู แต่ก็กลับัไม่สามารถเชื�อมต่อวาระทางการเมืองของพิรรคเข้ากับัความไม่พิอใจต่อระบัอบัดังกล่าว
ของชาวอาร์เจนติน่า จนเปิดช่องให้ขบัวนการเคลื�อนไหวของชนชั�นกลางภายใต้การนำของนักการเมืองเผด็จการ
ฝ่่ายขวาอย่างนายฮวน เปรอน (Juan Peron) สามารถช่วงชิงและผนวกความไม่พิอใจข้างต้นเข้ามาเป็นส่วนหนึ�ง
ในขบัวนการเคลื�อนไหวแบับัอำนาจนิยมของตนได้เป็นผลสำเร็จ 4
จริงอยู่ แม้อาจกล่าวได้ว่าประสบัการณี์อันล้มเหลวในฐานะนักกิจกรรมทางการเมืองของลาคลาวดังที�
กล่าวไปนั�น อาจเป็นผลมาจากบัริบัททางการเมืองเฉพิาะของประเทศูอาร์เจนติน่า ทว่าตัวลาคลาวเองกลับัมองเห็น
ว่าความล้มเหลวที�ขบัวนการเคลื�อนไหวฝ่่ายซ้ายของตนไม่สามารถประสานและเชื�อมต่อวาระทางการเมืองเข้ากับั
ความไม่พิอใจต่อระบัอบัทุนนิยมของชาวอาร์เจนติน่าได้นั�น จะมีสาเหตุมาจากความคับัแคบัทางยุทธิ์ศูาสตร์ของ
ขบัวนการที�ผูกขาดเป้าหมายทางการเมืองของตนเข้ากับัผลประโยชน์ของชนชั�นกรรมาชีพิ จนเพิิกเฉยกลยุทธิ์์
การรณีรงค์ทางการเมืองเพิื�อสร้างแนวร่วมและผสานความร่วมมือกับัชาวอาร์เจนติน่าที�อาจไม่ได้นิยามตนเองว่า
5
อยู่ในชนชั�นกรรมาชีพิ ในแง่นี� ความล้มเหลวของขบัวนการเคลื�อนไหวฝ่่ายซ้ายในอาร์เจนติน่า (ตามที�ลาคลาว
มีประสบัการณี์ตรง) จึงมิเพิียงแต่เป็นผลจากลักษณีะเฉพิาะภายใต้บัริบัทของสังคมการเมืองอาร์เจนติน่าเท่านั�น
หากแต่ยังเป็นภาพิสะท้อนถึงปัญหาทางทฤษฎีของลัทธิ์ิมาร์กซ์ซึ�งคอยกำหนดแนวทางยุทธิ์ศูาสตร์การเคลื�อนไหว
ของพิรรคการเมืองฝ่่ายซ้ายในขณีะนั�น นั�นก็คือการยึดเอาประโยชน์ของชนชั�นกรรมาชีพิเป็นแกนกลางภายใต้
แนวทางการวิเคราะห์แบับัเศูรษฐกิจกำหนด (economic determinism) ที�อาศูัยความขัดแย้งระหว่างชนชั�นจาก
ความสัมพิันธิ์์บันการถือครองปัจจัยการผลิตมาเป็นตัวกำกับัรูปแบับัและแนวทางในการเคลื�อนไหว ดังที�ลาคลาว
6
3 Ernesto Laclau, “Building a New Left”. In New Reflections on the Revolution of Our Time (London: Verso,
1990), p.179
4 Ernesto Laclau, “Theory, Democracy, and Socialism”. In New Reflections on the Revolution of Our Time, pp.199-200.
5 Ibid, p.199.
6 Ibid.