Page 7 - kpiebook66004
P. 7
7
จริงอยู่ แม้ทฤษฎีและข้อเสนอทางการเมืองของลาคลาวและมูฟอาจถูกวิพิากษ์วิจารณี์จากนักทฤษฎีมาร์กซิสต์
จำนวนไม่น้อย แต่ก็เป็นที�น่าสนใจว่าทฤษฎีดังกล่าวกลับักลายเป็นต้นน�ำที�ให้แรงบัันดาลใจแก่พิรรคการเมือง
หลาย ๆ พิรรคที�มุ่งขับัเคลื�อนสังคมด้วยวาระทางการเมืองอันก้าวหน้า หนักแน่นไม่ว่าจะเป็นพิรรคโพิเดมอสในสเปน,
พิรรคไซริซาในกรีซ, หรือพิรรคอนาคตใหม่ในประเทศูไทย แต่อะไรคือเนื�อหาสำคัญในทฤษฎีประชานิยมฝ่่ายซ้าย ?
ทฤษฎีดังกล่าวมีพิัฒนาการอย่างไร เมื�อถูกนำมาประยุกต์ใช้ผ่านพิรรคการเมืองในประเทศูต่าง ๆ แล้ว ทฤษฎี
ประชานิยมฝ่่ายซ้ายนี�ได้รับัการปรับัเปลี�ยนไปอย่างไร ? อะไรคือขีดจำกัดทางทฤษฎีเมื�อเผชิญหน้ากับับัริบัท
เฉพิาะทางการเมืองของแต่ละประเทศู และพิรรคการเมืองที�ประยุกต์ทฤษฎีนี�มีแนวทางปรับัตัว/รับัมือกับัข้อจำกัด
ดังกล่าวอย่างไร ?
เพิื�อจะตอบัคำถามข้างต้น ข้อเสนองานวิจัยชิ�นนี�จึงถูกเขียนขึ�นมาเพิื�อชี�ให้เห็นถึงความน่าสนใจและ
ความเป็นไปได้ของการศูึกษาแนวทางการปรับัประยุกต์ใช้ทฤษฎีการเมืองแบับัประชานิยมฝ่่ายซ้ายผ่านการ
ทำความเข้าใจบัทบัาทและแนวทางกลยุทธิ์์ของพิรรคการเมืองต่าง ๆ ทั�งในต่างประเทศูและประเทศูไทย ทั�งนี�เพิื�อ
แสดงให้เห็นถึงพิลวัตรการสลายเส้นแบั่งระหว่างภาคทฤษฎีกับัภาคปฏิิบััติการทางการเมืองที�ทฤษฎีซึ�งก่อตัว
ภายใต้บัริบัททางการเมือง “เฉพิาะ” สามารถมีอิทธิ์ิพิลเป็นเข็มทิศูนำทางให้กับัปฏิิบััติการทางการเมืองในสังคม
ที�หลากหลาก เช่นเดียวกันกับัที�การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการเมืองในบัริบัทที�แตกต่างไปจากที�ตัวทฤษฎีก่อตัวขึ�นมา
ก็สามารถยกระดับัทำให้ทฤษฎีดังกล่าวมีความรุ่มรวย ข้ามผ่านขีดจำกัดอันเป็นผลจากลักษณีะเฉพิาะในบัริบัทที�
ให้กำเนิดตัวทฤษฎีเหล่านั�นเองเช่นกัน
ด้วยเหตุนี� สำนักนวัตกรรมเพิื�อประชาธิ์ิปไตย สถาบัันพิระปกเกล้า จึงได้มีความสนใจในการศูึกษาความคิด
ทางการเมืองของประชานิยมฝ่่ายซ้าย และการนำไปปรับัใช้ของพิรรคการเมืองในประเทศูต่าง ๆ เพิื�อเป็นการ
สำรวจแนวกระแส/แนวความคิดทางการเมืองใหม่ ๆ ที�กำลังเป็นที�นิยม และมีผลกระทบัต่อความเป็นประชาธิ์ิปไตย
ทั�งในบัริบัทโลกและประเทศูไทย อีกทั�งยังทบัทวนความรู้และความเข้าใจเกี�ยวกับัการเมืองการปกครอง เพิื�อเป็น
องค์ความรู้หลักในการขับัเคลื�อน และนำความรู้ไปปรับัใช้ในสถานการณี์การเมืองไทย และยังจะได้นำข้อมูลจาก
การวิจัยนี�ไปใช้ต่อยอดในกิจกรรม งานเขียนและงานวิจัยต่อไปในภายภาคหน้า
2. คำถามการวิิจััย