Page 11 - kpiebook66004
P. 11

11



                   บัทที� 2





                   จัากการเคลื�อุนไหวิเพื�อุช้นช้ั�นกรรมาช้ีพสู่การเคลื�อุนไหวิเพื�อุสร้างประช้าช้น:

                   เอุอุร์เนสโต์ ลาคลาวิ, ช้อุงต์าล มูฟ และการรื�อุสร้างลัทธิ์ิมาร์กซ้์เพื�อุประช้านิยม
                   ฝ่่ายซ้้าย




                   ควรกล่าวตั�งแต่แรกว่าแม้งานวิจัยชิ�นนี�จะพิิจารณีาเออร์เนสโต ลาคลาว (Ernesto Laclau) และชองตาล มูฟ

            (Chantal Mouffe) ว่าเป็นสองนักทฤษฎีการเมืองผู้บัุกเบัิกแนวทางการเคลื�อนไหวแบับัประชานิยมฝ่่ายซ้าย แต่
            ก็ปฏิิเสธิ์ไม่ได้ว่าการบัุกเบัิกดังกล่าวเป็นผลสืบัเนื�องจากความพิยายามที�จะก้าวข้ามทางตันในทฤษฎีฝ่่ายซ้าย

            กระแสหลักในขณีะนั�น ซึ�งอยู่ภายใต้วิธิ์ีคิดแบับัลัทธิ์ิมาร์กซ์ดั�งเดิม (Orthodox Marxism) การทำความเข้าใจ

            ทฤษฎีประชานิยมฝ่่ายซ้ายของลาคลาวและมูฟจึงแยกไม่ขาดจากการทำความเข้าใจจุดยืนทางทฤษฎีของทั�งคู่
            ในฐานะนักทฤษฎีผู้บัุกเบัิกแนวทางแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์ (หรือ Post-Marxism) โดยเฉพิาะการตั�งคำถามกับั

            แนวทางการวิเคราะห์ที�ใช้การทำความเข้าใจความขัดแย้งทางเศูรษฐกิจมาเป็นตัวกำหนดปัจจัย 10 การเปลี�ยนแปลง

            ต่าง ๆ ในสังคม ตลอดจนการจัดวางให้ชนชั�นกรรมาชีพิเป็นตัวแทนพิลังแห่งการเปลี�ยนแปลงเพิื�อบัรรลุเป้าหมาย
            ทางการเมืองแบับัฝ่่ายซ้าย

                   ด้วยเหตุนี� เนื�อหาอันเป็นแก่นแกนของงานวิจัยในบัทนี� จึงเป็นเนื�อหาที�เกี�ยวข้องกับัรากฐานทางทฤษฎี
            ของลาคลาวและมูฟซึ�งแม้จะอยู่ภายใต้อิทธิ์ิพิลของนักคิดฝ่่ายซ้ายและลัทธิ์ิมาร์กซ์ แต่ก็ตระหนักถึงข้อจำกัดทาง

            ทฤษฎีของฝ่่ายซ้ายซึ�งส่งผลต่อมาถึงความอ่อนแอ(และล้มเหลว)ของขบัวนการทางการเมืองที�ใช้ยุทธิ์ศูาสตร์ภายใต้

            ของกำกับัทางทฤษฎีข้างต้น โดยบัทนี�จะแบั่งเนื�อหาออกเป็นสองส่วนด้วยกัน ส่วนแรกจะกล่าวถึงจารีตทฤษฎีที�
            เป็นรากฐานทางความคิดให้กับัลาคลาวและมูฟ ขณีะเดียวกับัที�เป็นทางตันทางความคิดที�ส่งผลให้ทั�งคู่ต้องคิดค้น

            แนวทางทฤษฎีการเมืองในแบับัของตนเองขึ�นมา ขณีะที�ในส่วนที�สองจะกล่าวถึงทฤษฎีหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์ซึ�งเป็น
            ทฤษฎีที�ทั�งคู่นำเสนอเพิื�อก้าวข้ามทางตันจากในส่วนแรก โดยหัวใจสำคัญของทฤษฎีหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์ดังกล่าว ก็คือ

            การเคลื�อนฐานการวิเคราะห์จากเดิมที�ให้ความสำคัญกับัความขัดแย้งทางเศูรษฐกิจไปสู่การทำความเข้าใจ

            ไวยากรณี์ทางการเมือง เช่นเดียวกับัการย้ายฐานการเคลื�อนไหวเปลี�ยนแปลงสังคมจากเดิมที�ขับัเคลื�อนผ่านชนชั�น
            กรรมาชีพิไปเป็นองคาพิยพิทางการเมืองที�เรียกว่ากันว่า “ประชาชน” อันจะกลายเป็นหัวใจสำคัญในการทฤษฎี

            ประชานิยมฝ่่ายซ้ายต่อมา



                   2.1 ขีดจัำกัดและการข้ามผู้่านขีดจัำกัดทางทฤษฎีีในลัทธิ์ิมาร์กซ้์แบับัดั�งเดิม: อุุดมการณ์์และการข้าม

            ผู้่านต์ัวิแปรทางเศึรษฐกิจั

                   เพิื�อหลีกเลี�ยงความเข้าใจผิดที�อาจเกิดขึ�น จึงเป็นเรื�องจำเป็นอย่างยิ�งที�จะต้องคลี�คลายความหมายของคำว่า
            “หลังลัทธิ์ิมาร์กซ์” หรือ Post-Marxism เสียตั�งแต่ต้น เพิราะความหมายในคำดังกล่าวค่อนข้างสุ่มเสี�ยงต่อการ

            ถูกเข้าใจ (ผิด) ว่าหมายถึงลัทธิ์ิหรือกลุ่มแนวคิดที�ปฏิิเสธิ์หรือต่อต้านวิธิ์ีการวิเคราะห์แบับัลัทธิ์ิมาร์กซ์ อย่างไรก็ตาม
            ดังที�ลาคลาวได้ให้สัมภาษณี์ในช่วงปี ค.ศู.1988 ว่าตัวเขาไม่ได้พิิจารณีาความคิดแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์ของตนว่า

            เป็นเรื�องของการต่อต้าน/ปฏิิเสธิ์ มากเท่ากับัเป็นเรื�องของการยกระดับัและปรับัรูปแบับัทางทฤษฎีของลัทธิ์ิมาร์กซ์
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16