Page 15 - kpiebook66004
P. 15

15



                   ด้วยเหตุนี� จึงอาจกล่าวได้ว่าพิร้อม ๆ ไปกับัการขัดเกลารากฐานทางทฤษฎีภายใต้แรงบัันดาลใจจาก

            แนวทางการวิเคราะห์สังคมการเมืองของอัลธิ์ูแซร์ ลาคลาวก็ได้มองเห็นถึงทางตันที�ทำให้แนวทางดังที�กล่าวไปนี�
            ยังไม่สามารถบัรรลุศูักยภาพิขั�นสูงสุดตามที�ควรจะเป็น กล่าวอีกนัยหนึ�งก็คือ ถ้ารากฐานทางทฤษฎีที�กำหนดวิธิ์ีคิด/

            พิิจารณีาสังคมและสถานการณี์ทางการเมืองของลาคลาวมีที�มาจากแนวทางการวิเคราะห์สังคมการเมืองของอัลธิ์ูแซร์
            จุดตั�งต้นที�ทำให้ลาคลาวพิัฒนาทฤษฎีแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์ในเวลาต่อมา ก็คงเป็นอย่างอื�นไปเสียมิได้นอกจากการ

            เติมเต็มให้แนวทางการวิเคราะห์ซึ�งได้รับัการบัุกเบัิกโดยอัลธิ์ูแซร์สามารถบัรรลุศูักยภาพิสูงสุดตามที�ควรจะเป็น

            นั�นก็คือการถอดรหัสกลไกการทำงานของอุดมการณี์ ก่อนที�จะรวบัยอดเพิื�อสร้างกรอบัคิดสำหรับัอธิ์ิบัายกลไก
            การทำงานดังกล่าวภายใต้ไวยากรณี์ทางการเมือง อันมีลักษณีะแยกขาดเป็นเอกเทศูสมบัูรณี์ จากการควบัคุม

            ของเงื�อนไขและปัจจัยทางเศูรษฐกิจ
                   นี�จึงเป็นต้นเหตุที�ส่งผลให้ลาคลาวและมูฟพิัฒนาทฤษฎีการเมืองแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์ของตนโดยอาศูัย

            กรอบัการวิเคราะห์เพิื�อรวบัยอดไวยากรณี์ทางการเมืองภายใต้แนวคิดเรื�องอำนาจนำหรือ Hegemony ของอันโตนิโอ

            กรัมชี� (Antonio Gramsci) นักปรัชญาลัทธิ์ิมาร์กซ์ชื�อดังชาวอิตาเลี�ยน ดังที�ลาคลาวได้เคยยอมรับัว่าหลังจากที�
            เผชิญหน้ากับัขีดจำกัดทางทฤษฎีในมรรควิธิ์ีของอัลธิ์ูแซร์แล้ว ตัวเขาก็ได้หันมาสนใจศูึกษาแนวคิดเรื�องอำนาจนำ

            ของกรัมชี�ตามแนวทางที�มูฟผู้เป็นทั�งเพิื�อนร่วมงานและคู่ชีวิตของเขาได้นำเสนอเอาไว้ แน่นอน การที�ลาคราว
                                                                                      14
            และมูฟหันมาให้ความสำคัญกับัแนวคิดเรื�องอำนาจนำของกรัมชี�นั�น ย่อมสัมพิันธิ์์อย่างแยกไม่ออกจากบัริบัทของ

            สหราชอาณีาจักรในช่วงคริสต์ทศูวรรษที� 1970 อันเป็นประเทศูที�ทั�งลาคราวและมูฟได้เคลื�อนย้ายถิ�นฐานจาก

            บั้านเกิดของตน เพิื�อลงหลักปักฐานพิัฒนากรอบัความคิดทางวิชาการสำหรับัแก้ปริศูนาความล้มเหลวของฝ่่าย
            ซ้ายดังที�ได้กล่าวไปก่อนหน้านี� โดยเฉพิาะความนิยมของปัญญาชน/นักวิชาการฝ่่ายซ้ายขณีะนั�นที�มีต่อแนวคิด

            เรื�องอำนาจนำของกรัมชี� อาทิเช่น ข้อเขียนทางการเมืองของสจ๊วต ฮอลล์ (Stuart Hall) นักวิชาการด้านวัฒนธิ์รรม
            ศูึกษาผู้เป็นบัรรณีาธิ์ิการของวารสาร New Left Review อันโด่งดัง ที�นำเอาแนวคิดเรื�องอำนาจของกรัมชี�ไปปรับั

            ประยุกต์เพิื�อทำความเข้าใจความอ่อนแอของขบัวนการฝ่่ายซ้ายในสหราชอาณีาจักรรวมไปถึงกลยุทธิ์์ของฝ่่าย

            อนุรักษ์นิยมที�มีชัยเหนือฝ่่ายซ้ายผ่านชัยชนะอันถล่มทลายจากการเลือกตั�งของนางมากาแร็ต แทตเช่อร์ (Margaret
            Thatcher) 15

                   ทว่า แม้แนวคิดเรื�องอำนาจนำของกรัมชี�จะเริ�มเป็นที�นิยมในกลุ่มนักวิชาการฝ่่ายซ้ายในสหราชอาณีาจักร
            ขณีะนั�น แต่ในขณีะที�นักวิชาการคนอื�น ๆ อาจมุ่งเน้นการนำเอาแนวคิดดังกล่าวไปใช้ทำความเข้าใจลักษณีะทาง

            วัฒนธิ์รรมที�รองรับับัรรยากาศูทางการเมืองที�กำลังเปลี�ยนไป ลาคราวและมูฟกลับัใช้แนวคิดเรื�องอำนาจมาเป็น

            กุญแจสำหรับัแก้ปัญหาความคับัแคบัภายในแนวคิดเรื�องอุดมการณี์ของอัลธิ์ูแซร์ ดังบัทความชิ�นสำคัญของมูฟ
            ซึ�งมุ่งนำเสนอประเด็นว่าแนวคิดเรื�องอำนาจนำของกรัมชี�นั�นแท้จริงแล้วจะไม่ใช่อะไรเลยนอกจากคำอธิ์ิบัายถึง

            ไวยากรณี์ทางการเมืองที�กำกับัภาคปฏิิบััติการของอุดมการณี์ กล่าวคือ ในขณีะที�กรัมชี�จะกล่าวถึงอำนาจนำว่า
            เป็นเครื�องมือสำคัญที�ช่วยให้ขบัวนการเคลื�อนไหวของชนชั�นกรรมาชีพิสามารถขยายแนวร่วมผ่านบัทบัาทของ

            ปัญญาชน (ของขบัวนการ) ที�นำเสนอและเผยแพิร่ชุดความคิด/ความรู้ต่อสังคมการเมืองจนกำหนดวาระทาง

            สังคม/ศูีลธิ์รรม ทำให้สมาชิกของชนชั�นอื�น ๆ คล้อยตามเป้าหมายของชนชั�นกรรมาชีพิที�มุ่งปฏิิวัติเปลี�ยนแปลง
            ระบัอบัการเมืองที�เป็นอยู่ มูฟกลับัมองว่าการสร้างอำนาจนำผ่านบัทบัาทของปัญญาชนเพิื�อเผยแพิร่ชุดความคิด/



            14  Ibid, pp. 5-6
            15  ดูเพิิ�มเติมได้ใน Perry Anderson, The H-Word: The Peripeteia of Hegemony (London: Verso, 2017), pp.85-99
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20