Page 20 - kpiebook66004
P. 20

20



            ความต้องการ (demand) ของกลุ่มอื�น ๆ เข้ากับัวาระและผลประโยชน์ที�ฝ่่ายตนเป็นผู้นำด้วยการกำหนดว่าใคร

                                                                              31
            คือศูัตรูหรือปรปักษ์ร่วมที�ขัดขวางความต้องการของกลุ่มต่าง ๆ เหล่านั�น  ดังที�ลาคลาวได้เน้นย�ำอีกครั�งใน
            บัทความที�ตัวเขาตีพิิมพิ์ในเวลาต่อมาว่าต้นตอของความขัดแย้งทางชนชั�นจะมิได้เกิดจากความขัดกัน (contradiction)

            ในวิถีการผลิตระหว่างพิลังการผลิตกับัความสัมพิันธิ์์ทางการผลิต (ตามที�มาร์กซ์ได้บัรรยายเอาไว้) แต่คือสภาพิ
            ของความเป็นปรปักษ์ (antagonism) ที�ฝ่่ายผู้ถูกขูดรีดจะตระหนักรู้ว่าตนเองไม่เพิียงแต่ถูกขูดรีดจากอีกฝ่่าย

            หากแต่ยังอยู่ภายใต้สถานะที�ปราศูจากความมั�นคง ถูกบัั�นทอนและลิดรอนชีวิต ไม่ต่างไปจากการเป็นเพิียงแหล่ง
            ทรัพิยากรที�รอการถูกรีดเร้นพิลังงานโดยปราศูจากศูักดิ�ศูรีความเป็นมนุษย์ใด ๆ ทั�งสิ�น 32

                   ในแง่นี� ถ้าการเกิดขึ�นของชนชั�น (และความขัดแย้งทางชนชั�น) เป็นผลจากความเป็นปรปักษ์ระหว่างฝ่่าย

            ที�ถูกขูดรีดกับัฝ่่ายที�ขูดรีด (มากกว่าแค่ความขัดกันทางเศูรษฐกิจระหว่างพิลังการผลิตกับัความสัมพิันธิ์์ทางการผลิต)
            ก็คงไม่ใช่เรื�องแปลกที�ลาคลาวและมูฟจะพิิจารณีาแนวคิดเรื�องอำนาจนำเสียใหม่ว่าเป็นปฏิิบััติการทางการเมืองซึ�ง

            ไม่ได้ผูกติดกับัเป้าหมายเชิงชนชั�น(และเงื�อนไขทางเศูรษฐกิจ) หากแต่จะสัมพิันธิ์์กับัการเชื�อมต่อ นั�นก็คือการ
            ช่วงชิงการนำผ่านการกำหนดปรปักษ์ร่วมอันจะนำไปสู่การเชื�อมต่อเพิื�อสร้างอัตลักษณี์และกลุ่มก้อนสำหรับั

                                     33
            เคลื�อนไหวทางการเมืองต่อมา  นี�จึงอาจเป็นเหตุผลสำคัญที�ช่วยให้เข้าใจได้ว่านอกจากจะเป็นปฏิิบััติการทางการเมือง
            ที�ไม่ขึ�นต่อปัจจัยทางเศูรษฐกิจอย่างชนชั�นแล้ว อำนาจนำ—จากมุมของลาคลาวและมูฟ—ยังเป็นแนวคิดที�กำหนด

            เงื�อนไขตั�งต้นของชนชั�นและความแตกต่างทางชนชั�น ดังที�ทั�งคู่ได้อธิ์ิบัายว่าถ้าความคิดเรื�องชนชั�นเป็นสิ�งที�ถูก

            ประกอบัสร้างด้วยการที�บัุคคลกลุ่มหนึ�งสามารถเชื�อมต่อความต้องการหรือความไม่พิอใจของคนในสังคมเข้ากับั
            วาระทางการเมืองที�พิวกตนเป็นแกนนำความคิดเรื�องการแบั่งแยกทางชนชั�นก็ย่อมเป็นสิ�งที�ถูกกำหนดจากผู้ครอง

            อำนาจนำ ซึ�งก็คือกลุ่มคนที�ประสบัความสำเร็จในการเชื�อมต่อวาระทางการเมืองของตนเข้ากับัความไม่พิอใจของ
            ผู้คนในสังคมด้วยการสร้างวาทกรรมความขัดแย้งทางชนชั�น เพิื�อแปลงเอาความไม่พิอใจดังกล่าวไปเป็นความ

            ไม่พิอใจภายใต้โลกทัศูน์ที�มองว่าความขัดแย้งทุกอย่างเป็นผลมาจากการกีดกันทรัพิยากรบันฐานความไม่เสมอภาค
            ทางชนชั�น 34

                   ถึงตรงนี� คงเป็นที�ชัดเจนว่า ภายใต้ความคิดแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์ซึ�งลาคลาวและมูฟพิัฒนาขึ�นด้วยการ
            ปลดแอกไวยากรณี์ทางการเมืองจากกำหนดของเงื�อนไขทางเศูรษฐกิจผ่านการนำเสนอแบับัแผนการทำงานของ

            อำนาจนำเสียใหม่นั�น แกนกลางสำคัญจะเป็นอย่างอื�นไปเสียมิได้นอกจากการเชื�อมต่อเพิื�อสร้างเครือข่ายโยงใย
            จนก่อเกิดเป็นอัตลักษณี์ทางการเมืองภายใต้การกำหนดลักษณีะของปรปักษ์ร่วมที�มีคุณีสมบััติเป็นนิเสธิ์ต่ออัตลักษณี์

            เหล่านั�น กล่าวอีกแบับัก็คือ ถ้าไวยากรณี์ทางการเมืองซึ�งเป็นหัวใจของความคิดแบับัหลังลัทธิ์ิมาร์กซ์คือการ

            ใช้อำนาจนำในฐานะปฏิิบััติการแห่งการเชื�อมต่อ แกนกลางของไวยากรณี์ดังกล่าวก็คงเป็นอย่างอื�นไปเสียมิได้
            นอกจากการสร้างภาวะที�ลาคลาวและมูฟเรียกว่าห่วงโซ่แห่งความเชื�อมโยงเท่าเทียม หรือ chain of equivalence

            ซึ�งก็คือภาวะที�อัตลักษณี์เฉพิาะอันแตกต่างหลากหลายของกลุ่มต่าง ๆ ได้ถูกละวางผ่านการเชื�อมต่อที�เชื�อมให้
            แต่ละกลุ่มเหล่านี�ต่างก็มีอัตลักษณี์ทางการเมืองร่วมกันผ่านการกำหนดว่าใครหรืออะไรคือปรปักษ์ร่วมที�ทุกกลุ่ม

            ต้องร่วมมือกันต่อสู้ 35



            31  Ibid, pp. 106-107.
            32 Laclau, New Reflections on the Revolution of Our Time, pp.5-17.
            33 Laclau and Mouffe, Hegemony and Socialist Strategy: Towards a Radical Democratic Politics, pp. 121-122.
            34 Ibid, pp. 105-106.
            35 Ibid, pp. 113-115.
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25