Page 25 - kpiebook66004
P. 25

25



            นำไปสู่การเรียกร้องสิ�งใหม่ ๆ และต้องการการเปลี�ยนแปลงครั�งใหญ่ ด้วยเหตุนี�จึงเกิดแนวทางทางการเมืองใหม่ ๆ

            ที�เป็นข้อเสนอให้ประชาชนได้ หนึ�งในนั�นก็คือพิรรคการเมืองแนวใหม่ ที�เสนอแนวทางออกให้กับัประชาชนที�
            ต้องการการเปลี�ยนแปลง ซึ�งหนึ�งในนั�นก็คือพิรรคฝ่่ายซ้าย

                   โดยเฉพิาะพิรรคโปเดมอส ซึ�งการที�พิรรคการเมืองในลักษณีะประชานิยมซ้ายเหล่านี� มักจะเกิดขึ�นหลังจาก
            การชุมนุมเคลื�อนไหวของประชาชน หรือที�อาจเรียกว่าเป็นการเคลื�อนไหวทางสังคมที�มักเป็นการเคลื�อนไหวเพิื�อ

            ต่อต้านการดำเนินนโยบัายทางเศูรษฐกิจแบับัเสรีนิยมใหม่ (neo-liberalism) ของรัฐ อันเป็นปฏิิกิริยาต่อความไม่ยุติธิ์รรม
            ในสังคม แนวทางการเมืองแบับัสถาบัันทางการเมืองแบับัดั�งเดิม ที�ต้องการระบับัรัฐสภาและองค์กรทางการเมืองอื�น ๆ

            เป็นกลไกในการบัริหารงานเพิื�อตอบัสนองความต้องการของประชาชนจึงไม่สามารถตอบัสนองความต้องการของ
            ประชาชนได้อย่างพิึงพิอใจ ประชาชนจึงอยากออกมาแสดงออกทางการเมืองโดยตรงมากยิ�งขึ�น และเมื�อประชาชน

            ธิ์รรมดาไม่สามารถมีร่วมและมีบัทบัาทในสถาบัันทางการเมืองเหล่านั�นได้ หนทางที�ประชาชนนั�นสามารถแสดงออก
            ถึงความต้องการได้นั�น ก็คือการชุมนุมประท้วง เพิื�อบั่งบัอกถึงความต้องการของประชาชน การเรียกร้องบันถนน

            จึงเป็นการสื�อสารของประชาชนที�ส่งไปยังผู้มีอำนาจ

                   แต่เมื�อความต้องการของประชาชนนั�นมีความแตกต่าง และกระจัดกระจายเป็นวงกว้าง จึงทำให้ต้องเกิด
            พิรรคการเมืองที�เป็นตัวแทนที�แท้จริงของประชาชน ซึ�งต้องเป็นพิรรคการเมืองที�มีลักษณีะที�ควบัรวมความต้องการ
            (articulating demands) ที�หลากหลายของประชาชน มาเป็นแนวทางในการกำหนดนโยบัาย เพิื�อให้ประชาชน

                                                                                                           45
            นั�นสนับัสนุน และสามารถได้รับัการเลือกตั�ง ขึ�นสู่อำนาจ และสามารถครองอำนาจนำ (hegemony) ได้ในที�สุด
            กระนั�น พิรรคการเมืองในแง่นี� จึงต้องเป็นพิรรคการเมืองที�สามารถดึงดูดประชาชนได้ พิรรคการเมืองจึงต้องผูกติด
            กับัความต้องการของประชาชน เพิื�อให้พิรรคการเมืองนั�นสามารถขับัเคลื�อนมวลชนของประชาชนนั�นได้ กล่าวคือ

            พิรรคการเมืองในลักษณีะนี�นั�น ใช้ยุทธิ์ศูาสตร์แบับั “ประชานิยม” ในการดึงดูด/ควบัรวม/ก่อตัว ผู้สนับัสนุน
                               46
            ตัวพิรรคการเมืองเอง  ในแง่นี� หากจะกล่าวว่า ประชานิยมนั�นเป็นเรื�องของการเมืองแบับัอนุรักษ์นิยม หรือ
            การเมืองของฝ่่ายขวา ก็คงไม่ใช่เสียทีเดียว เพิราะ “เนื�อหา” ในการดึงดูด/ควบัรวม/ก่อตัว ผู้สนับัสนุนตัว
            พิรรคการเมืองนั�น ไม่ได้เป็นเนื�อหาที�เกี�ยวข้องกับัเรื�องชาตินิยม เชื�อชาติ หรือความต้องการหวนกลับัไปสู่

            ธิ์รรมเนียมปฏิิบััติดั�งเดิมของสังคมนั�น ๆ หากแต่เป็นเนื�อหาที�มีความเกี�ยวข้องการต่อต้านอุมดมการณี์แบับั
            เสรีนิยมใหม่ และสนับัสนุน/เรียกร้องการเมืองที�เป็นประชาธิ์ิปไตย และเป็นธิ์รรมกับัสังคมและประชาชนมากขึ�น

            จึงอาจเรียกได้ว่า พิรรคการเมืองเหล่านี� เป็นพิรรคการเมืองในรูปแบับัที�เป็น “ประชานิยมฝ่่ายซ้าย” กล่าวคือ



            45 ดู Ernesto Laclau, On Populist Reason, Reprint edition (London ; New York: Verso, 2018).
            46 ดู Paul Taggart, Populism, 1st edition (Buckingham England ; Philadelphia: Open University Press, 2000), 2–5.
            ได้มีการใช้คำว่า ‘heartland’ ในการอธิ์ิบัายถึง การก่อร่างขององคาพิยพิของ “ประชาชน” ที�มีความต้องการและอุดมการณี์ที�
            เหมือนกันจนสามารถถูกสร้างขึ�นเป็น “ประชานิยม” ได้ ประชานิยมในแง่นี�จึงไม่ได้หมายความเพิียงแค่นโยบัาย ตัวบัุคคล หรือ
            เพิียงอุดมการณี์ แต่เป็นเสมือน ดินแดน หรือพิื�นที�ทางการเมือง ที�ประชาชน หรือตัวแสดงทางการเมืองนั�น เข้ามามีส่วนร่วม
            (engagement) ในพิื�นที�ต่าง ๆ เพิื�อแสดงความเห็น และปฏิิบััติการทางการเมืองหนึ�ง ๆ ตามความต้องการ หรืออุดมการณี์ต่าง ๆ
            ทางการเมืองได้ ประชานิยมจึงไม่ใช่อุดมการณี์หลัก (grand ideology) ของพิื�นที�ทางการเมืองเหล่านี� แต่ประชานิยมเป็นเสมือน
            ปรากฎการณี์ที�รับัเอา/สมาทานอุดมการณี์หลักเหล่านั�น เข้ามาเป็นความคิดขับัเคลื�อน/หล่อเลี�ยงกระแสของประชานิยมให้คงอยู่
            และปฏิิบััติการต่อไปได้ ดังนั�น ในแง่นี�ประชานิยมด้วยตัวเอง จึงไม่ได้มีแก่นแกน/สารัตถะ (essence) ของอุดมการณี์เป้าหมาย
            ในเชิงอุดมการณี์ในตัวเอง แต่จะต้องอาศูัยเนื�อหา/สารัตถะของอุดมการณี์ต่าง ๆ มาช่วยพิยงุ ให้ขบัวนการประชานิยมเองนั�น
            สามารถดำเนินต่อไปได้ ดังนั�น ประชานิยมจึงเป็นเพิียงปรากฎการณี์ที�เป็นเครื�องมือในการขับัเคลื�อนทางการเมืองเพิื�อให้บัรรลุ
            เป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ�งเท่านั�น หรือดู Marina Prentoulis, Left Populism in Europe: Lessons from Jeremy Corbyn
            to Podemos, 1st edition (Pluto Press, 2021), 1, 104.
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30