Page 14 - kpiebook66004
P. 14

14



            อันเป็นส่วนหนึ�งในภาคปฏิิบััติที�ผู้อยู่ในเหตุการณี์สามารถมีประสบัการณี์ถึง ไม่ว่าจะเป็นความขัดแย้งของการ

            ครอบัครองปัจจัยการผลิต ความขัดแย้งภายในกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองต่าง ๆ หรือความขัดแย้งภายใน
            อุดมการณี์ที�คอยกำกับัแบับัแผนความสัมพิันธิ์์ของผู้คนในสังคมขณีะนั�น ฯลฯ 9

                   ข้อวิเคราะห์ของอัลธิ์ูแซร์ที�มุ่งนำเสนอความลุ่มลึกในมรรควิธิ์ีทางการวิเคราะห์ของมาร์กซ์ด้วยการปฏิิเสธิ์

            ลักษณีะแบับัเศูรษฐกิจกำหนดที�ลดทอนความขัดแย้งทางการเมืองให้กลายเป็นเพิียงความขัดแย้งจากการถือครอง
            ปัจจัยการผลิตแต่เพิียงอย่างเดียวนั�น ถือเป็นข้อวิเคราะห์สำคัญที�กำหนดรากฐานทางทฤษฎีที�ลาคลาวจะใช้เป็น

            จุดตั�งต้นในการพิัฒนาแนวทางการวิเคราะห์ของตนต่อมา เพิราะนอกจากจะท้าทายมรรควิธิ์ีของลัทธิ์ิมาร์กซ์ดั�งเดิม

            ซึ�งผูกโยงความขัดแย้งทุกอย่างว่ามีต้นตอมาจากปัจจัยทางเศูรษฐกิจแล้ว ข้อวิเคราะห์ดังกล่าวยังชักนำให้ลาคลาว
            หันมาสนใจการทำงานของอุดมการณี์ ซึ�งมีไวยากรณี์เฉพิาะ เป็นเอกเทศูจากความขัดแย้งในการครอบัครอง

            ปัจจัยต่าง ๆ ทางเศูรษฐกิจ นั�นก็คือ กลไกการเปลี�ยนผู้คนให้กลายเป็นองค์ประธิ์าน (subject) ผู้เป็นหุ่นเชิดที�

            สมยอมกับักระบัวนการกดขี�ต่าง ๆ ด้วยถูกทำให้มีสำนึกอันผิดพิลาด (misrecognition) ว่ากำลังดำรงชีวิตภายใต้
            ความสัมพิันธิ์์ทางสังคมที�ถูกต้องเหมาะสม ทั�ง ๆ ที�แท้จริงแล้วความสัมพิันธิ์์ดังกล่าวคือความสัมพิันธิ์์อันไม่เท่าเทียม

            ที�ตนเองเป็นฝ่่ายที�ถูกกดขี�ขูดรีด 10

                   กระนั�น แม้อาจได้ชื�อว่าเป็นผู้บัุกเบัิกมรรควิธิ์ีของการศูึกษาอุดมการณี์โดยไม่ตกไปอยู่ภายใต้กำกับัจาก
            ความขัดแย้งทางเศูรษฐกิจ แต่ฐานคิดของอัลธิ์ูแซร์ก็ยังคงไม่สามารถหลุดออกจากอิทธิ์ิพิลทางความคิดที�ให้

            ความสำคัญกับัปัจจัยทางเศูรษฐกิจได้อยู่ดี ดังที�ลาคลาวได้วิจารณี์ว่าแม้มรรควิธิ์ีของอัลธิ์ูแซร์อาจเป็นมรรควิธิ์ีที�
            มุ่งเน้นความเป็นเอกเทศูในไวยากรณี์การทำงานของกลไกทางอุดมการณี์ แต่มรรควิธิ์ีดังกล่าวก็กลับัมีขีดจำกัด

            ทางทฤษฎีที�จัดวางให้ไวยากรณี์ของอุดมการณี์ยังคงเป็นส่วนหนึ�งภายในวิถีการผลิตที�กำหนดความขัดแย้งทาง

                                 11
            เศูรษฐกิจระหว่างชนชั�น  ไวยากรณี์ของอุดมการณี์ตามแนวทางการวิเคราะห์แบับัอัลธิ์ูแซร์ (เมื�อพิิจารณีาจาก
            สายตาของลาคลาว) จึงเป็นไวยากรณี์ที�ถูกกำกับัผ่านการดำรงอยู่ของชนชั�น ราวกับัว่าการดำรงอยู่ของชนชั�น

            เป็นการดำรงอยู่ตามธิ์รรมชาติที�คอยกำหนดเนื�อหาของอุดมการณี์ตลอดจนอัตลักษณี์ของผู้ที�ตกอยู่ภายใต้

            อุดมการณี์ดังกล่าว  นั�นจึงไม่แปลกที�แม้จะยอมรับัว่าได้รับัอิทธิ์ิพิลจากอัลธิ์ูแซร์ แต่ลาคลาวก็ยังคงมองเห็น
                             12
            ขีดจำกัดทางทฤษฎีในมรรควิธิ์ีที�อัลธิ์ูแซร์ใช้เพิื�อศูึกษากลไกการทำงานของอุดมการณี์ ขีดจำกัดซึ�งก็คือการยึดเอา

            ปัจจัยทางเศูรษฐกิจมาเป็นเงื�อนไขตั�งต้นในการทำงานของอุดมการณี์ จนบัดบัังศูักยภาพิของมรรควิธิ์ีดังกล่าว

            ที� (สำหรับัลาคลาวแล้ว) จะไม่ใช่อะไรเลยนอกจากไวยากรณี์ทางการเมือง (political logics) ซึ�งเป็นไวยากรณี์
            ที�มิเพิียงแต่ควรเป็นอิสระจากการกำหนดของปัจจัยทางเศูรษฐกิจ แต่ยังมีบัทบัาทสำคัญในการก่อรูปของสำนึก

            และอัตลักษณี์ทางการเมืองให้กับับัุคคลต่าง ๆ 13



            9  Louis Althusser, “Contradiction and Overdetermination: Notes for an Investigation”, in For Marx (London:
            Verso, 2005), pp.89-115.
            10  ดูตัวอย่างการวิเคราะห์อุดมการณี์ที�ลาคลาวประยุกต์ใช้แนวทางของอัลธิ์ูแซร์ได้ใน Ernesto Laclau, “Fascism and Ideology”,
            in Politicsand Ideology in Marxist Theory (London: Verso, 1979), pp.81-142 สำหรับัการวิเคราะห์อุดมการณี์ในแบับัของ
            อลัธิ์ูแซร์ดูเพิิ�มเติมได้ใน Louis Althusser, On the Reproduction of Capitalism: Ideology and Ideological State Apparatuses.
            G.M. Goshgarian, Translated (London: Verso, 2014), pp. 256-266.
            11  Ernesto Laclau, The Rhetorical Foundations of Society (London: Verso, 2014), p.5.
            12  Laclau, “Fascist and Ideology”, pp. 104-106.
            13  Laclau, The Rhetorical Foundations of Society, p.5.
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19