Page 13 - kpiebook66004
P. 13

13



            ได้ชี�ให้เห็นว่าปัญหาทางทฤษฎีตรงนี�จะมิเพิียงปรากฏิในบัริบัททางการเมืองเฉพิาะของประเทศูอาร์เจนติน่า แต่

            ยังเป็นปัจจัยเบัื�องหลังความไร้น�ำยาของขบัวนการเคลื�อนไหวฝ่่ายซ้ายในสังคมการเมืองตะวันตกที�ไม่สามารถ
            เชื�อมต่อวาระทางการเมืองของตนเข้ากับัความไม่พิอใจในสภาพิสังคมและเศูรษฐกิจของเหล่านิสิต/นักศูึกษาจน

            ก่อเกิดเป็นการเคลื�อนไหว (และจลาจล) ครั�งใหญ่ในปี ค.ศู. 1968 ตลอดไปจนถึงการละเลยแนวร่วมที�ขบัวนการ

            ฝ่่ายซ้ายไม่สามารถเชื�อมต่อตนเองเข้ากับัขบัวนการเคลื�อนไหวในทศูวรรษต่อมา ซึ�งมีลักษณีะเป็นขบัวนการ
            เคลื�อนไหวแบับัใหม่ที�ไม่ได้อาศูัยปัจจัยด้านชนชั�นมาเป็นเกณีฑ์์ขับัเคลื�อนมากเท่ากับัปัจจัยด้านเพิศูสภาพิ เชื�อชาติ

            และสีผิว ฯลฯ 7

                     การตั�งคำถามต่อปัญหาความคับัแคบัทางทฤษฎีในลัทธิ์ิมาร์กซ์ของลาคลาวนี� นอกจากจะเป็นผล
            มาจากการทบัทวนถึงประสบัการณี์ทางการเมืองอันล้มเหลวของเขาแล้ว ยังสะท้อนถึงรากฐานทางทฤษฎีที�ฟูมฟัก

            ความคิดและการประเมินสถานการณี์ต่าง ๆ ของตัวเขาเองด้วย กล่าวคือ แม้จะนิยามตนเองเข้ากับัขบัวนการ

            เคลื�อนไหวทางการเมืองแบับัฝ่่ายซ้าย แต่ลาคลาวก็ไม่เคยโอบัรับัแนวทางทฤษฎีแบับัลัทธิ์ิมาร์กซ์ดั�งเดิมที�ให้
            ความสำคัญกับัการวิเคราะห์สถานการณี์ทางการเมืองผ่านปัจจัยความขัดแย้งทางเศูรษฐกิจเป็นหลัก เพิราะ

            แนวทางที�มีอิทธิ์ิพิลจริง ๆ ต่อความคิดของตัวเขานั�นกลับัเป็นแนวทางภายใต้จารีตลัทธิ์ิมาร์กซ์แบับัโครงสร้างนิยม

            ของหลุยส์ อัลธิ์ูแซร์ (Louis Althusser) นักปรัชญาคนสำคัญชาวฝ่รั�งเศูส ผู้เล็งเห็นถึงความเป็นเอกเทศูของ
            ไวยากรณี์และกลไกการเปลี�ยนแปลงทางการเมืองที�อาจมีความสัมพิันธิ์์ แต่ก็มิได้อยู่ภายใต้การกำหนดจาก

            ความขัดแย้งทางเศูรษฐกิจ ดังที�ลาคลาวได้กล่าวย�ำว่ารากฐานดั�งเดิมที�ส่งผลในการก่อตัวทางความคิดและ

            โลกทัศูน์ทางทฤษฎีของตัวเขานั�นจะมาจากปรัชญาลัทธิ์ิมาร์กซ์ของอัลธิ์ูแซร์ โดยเฉพิาะแนวคิดเรื�อง “การกำหนด
            เชิงซ้อน” หรือ overdetermination ซึ�งเป็นแนวคิดรากฐานที�ช่วยให้ตัวเขาสามารถจำแนกมรรควิธิ์ีในการวิเคราะห์

            สถานการณี์ทางการเมืองออกจากกรอบัการวิเคราะห์แบับัเศูรษฐกิจกำหนดของลัทธิ์ิมาร์กซ์ดั�งเดิม 8

                   ทั�งนี�สำหรับัผู้ที�คุ้นเคยกับัข้อเขียนของอัลธิ์ูแซร์ คงทราบักันเป็นอย่างดีว่าหนึ�งในคุณีูปการทางทฤษฎีที�
            อัลธิ์ูแซร์มีให้กับัลัทธิ์ิมาร์กซ์ก็คือการขับัเน้นลักษณีะเด่นในแนวทางวิเคราะห์สังคมการเมืองของคาร์ล มาร์กซ์

            (Karl Marx) ที�ผิดแผกแตกต่างไปจากแนวทางการวิเคราะห์ของนักปรัชญารุ่นก่อนหน้าอย่างเฮเกล (GeorgWilhelm

            Friedrich Hegel) ผู้ให้ความสำคัญกับัเอกภาพิในไวยากรณี์ของความขัดกัน (logics of contradiction) ภายใต้
            ปฏิิบััติการของกฎแห่งวิภาษวิธิ์ี กล่าวคือแม้เฮเกลและมาร์กซ์อาจให้ความสำคัญกับัวิภาษวิธิ์ีผ่านการยอมรับัถึง

            นิมิตขององค์รวมทางสังคม (social totality) อันเป็นหัวใจสำคัญในไวยากรณี์ที�ขับัเคลื�อนกฎแห่งวิภาษวิธิ์ี แต่

            อัลธิ์ูแซร์จะพิิจารณีาว่านิมิตที�มาร์กซ์มีต่อองค์รวมทางสังคมนั�นจะแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญจากนิมิตใน

            เรื�องเดียวกันนี�ของเฮเกล เพิราะในขณีะที�เฮเกลจะสรุปเหตุการณี์และการคลี�คลายทางประวัติศูาสตร์ผ่าน
            ไวยากรณี์ความขัดแย้งของความคิด (Idea) และจิตสากล ซึ�งส่งผลลดทอนตัวแปรและความซับัซ้อนที�ปรากฏิ

            ในรูปของประสบัการณี์ภาคปฏิิบััติ (practical experience) จากเหตุการณี์เหล่านั�น มาร์กซ์ (ตามสายตาของอัลธิ์ูแซร์)

            กลับัพิิจารณีาความสุกงอมทางประวัติศูาสตร์ (ซึ�งนำไปสู่การแตกหักกับัเงื�อนไขทางการเมืองก่อนหน้าจนก่อเกิดเป็น
            สถานการณี์ปฏิิวัติ) ว่ามิได้เกิดขึ�นผ่านการถือครองปัจจัยการผลิตตามกรอบัทฤษฎีตั�งต้นของตนแต่เพิียงอย่างเดียว

            หากแต่เป็นผลจากการผสานกันของความขัดแย้งหลายระดับัที�ต่างก็กำหนดซ้อนทับัซึ�งกันและกัน (overdetermine)



            7  Laclau, “Building a New Left”. pp.179-180
            8  Ibid, pp.178-179; Laclau, “Theory, Democracy, and Socialism”. p.199.
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18