Page 6 - kpiebook66004
P. 6
6
บัทที� 1
บัทนำ
1. หลักการและเหต์ุผู้ล
คงไม่มีใครปฏิิเสธิ์ว่าในรอบัห้าถึงหกปีหลังมานี� “ประชานิยม” หรือ “Populism” เป็นหนึ�งในคำศูัพิท์
ทางรัฐศูาสตร์ที�ได้รับัการพิูดถึงกันอย่างร้อนแรง โดยเฉพิาะเมื�อพิิจารณีาร่วมกับัสถานการณี์ในการเมือง
โลกปัจจุบััน ทั�งชัยชนะจากการเลือกตั�งประธิ์านาธิ์ิบัดีของนายโดนัลด์ ทรัมป์ (Donald Trump), การลงประชามติ
ออกจากสหภาพิยุโรปของชาวอังกฤษ (BREXIT), หรือความนิยมที�เพิิ�มมากขึ�นของพิรรคการเมืองฝ่่ายขวา
หลายแห่งในยุโรป อันเป็นภาพิสะท้อนถึงความตื�นตัวของประชาชนในการมีส่วนร่วมและแสดงออกทางการเมือง
อย่างเปิดเผยโดยอาศูัยช่องทางของการเลือกตั�ง กลายเป็นรากฐานความนิยมในตัวผู้นำพิรรคการเมือง หรือ
ตัวแบับั (figure) ทางการเมืองหนึ�ง ๆ จนสามารถช่วงชิงอำนาจรัฐ หรือชนะการเลือกตั�งในระบัอบัการปกครอง
แบับัประชาธิ์ิปไตยตัวแทนและส่งผลเปลี�ยนแปลงภูมิทัศูน์ทางการเมืองของโลกขนานใหญ่โดยเฉพิาะการกลับัมา
ท้าทายกับัคุณีค่าและหลักการที�ระบัอบัประชาธิ์ิปไตยยึดถือ 1
นั�นจึงไม่แปลกที� “ประชานิยม” จะกลายเป็นคำที�สื�อไปถึงการต่อต้านท้าทายค่านิยมของสังคม
ประชาธิ์ิปไตย ตลอดไปจนถึงขบัวนการเคลื�อนไหวทางการเมืองที�สัมพิันธิ์์กับัอุดมการณี์ขวาจัดอนุรักษ์นิยม
แต่ก่อนมักเป็นคำที�นิยมใช้กับันักการเมืองหรือพิรรคการเมืองที�เป็นฝ่่ายอนุรักษ์นิยม ไม่ว่าจะเป็นการเคลื�อนไหว
ในนามของชาตินิยม เชื�อชาติ หรือศูาสนา กระนั�น ความเข้าใจต่อประชานิยมดังกล่าวก็เป็นเพิียงแค่ความเข้าใจ
ด้านเดียว เพิราะควบัคู่ไปกับัชุดความหมายที�สัมพิันธิ์์กับัคุณีค่าแบับัอนุรักษ์นิยม/ขวาจัด ประชานิยมยังสื�อไปถึง
การเคลื�อนไหวแบับัซ้ายสุดขั�วหรือ radical left ซึ�งนำเสนอขึ�นมาโดยเออร์เนสโต ลาคลาวและช็องตาล มูฟ
สองนักทฤษฎีการเมืองชาวอาร์เจนติน่าและเบัลเยี�ยม ผู้เล็งเห็นช่องทางในการนำการเมืองประชานิยมมาเป็น
ยุทธิ์ศูาสตร์/ยุทธิ์วิธิ์ีขับัเคลื�อนวาระทางการเมืองแบับัก้าวหน้า โดยทฤษฎีการเมืองแบับัประชานิยมฝ่่ายซ้ายที�
ลาคลาวและมูฟคิดค้นขึ�นมานั�นจะเริ�มต้นจากการตั�งคำถามกับัแนวทางแบับัมาร์กซิสต์ดั�งเดิมซึ�งให้ความสำคัญ
กับัชนชั�นกรรมาชีพิ ด้วยการขยับัเป้าหมายของการต่อสู้จากการปฏิิวัติทางชนชั�นผ่านการยึดอำนาจปกครองของรัฐ
มาสู่การต่อสู้ในระบัอบัประชาธิ์ิปไตยภายใต้การขับัเคลื�อนวาระที�มุ่งผนวกอัตลักษณี์อันหลากหลายของผู้คน
(ไม่ว่าจะเป็นชนชั�นล่าง, กรรมาชีพิ, ผู้หญิง, เพิศูที�สาม, คนผิวสี ฯลฯ) ภายใต้ชื�อ “ประชาชน” เข้าต่อกรกับั
การครอบังำของชนชั�นนำและเทคโนแครตซึ�งมักปฏิิเสธิ์พิลังและสิทธิ์ิทางการเมืองของประชาชน 2
1 ดู Cas Mudde, “The Populist Zeitgeist”, Government and Opposition, 39:4 (March 2004), pp. 542-63;
JanWerner Muller, What is Populism? (London: Penguin Books, 2017); Yascha Mounk, The People VS. Democracy:
Why Our Freedom in in Danger & How To Save It (Harvard: Harvard University Press, 2018); Takis Pappas,
Populism and Liberal Democracy (Oxford: Oxford University Press, 2019)
2 ประเด็นเรื�องการก่อตัวของทฤษฎีการเมืองประชานิยมแบับัซ้ายโดยลาคลาวและมูฟนั�นจะเป็นประเด็นที�ผู้วิจัยนำเสนออย่าง
ละเอียดอีกครั�งในงานวิจัยชิ�นนี� อย่างไรก็ตามหากผู้ใดสนใจแนวทางความคิดหรือพิัฒนาของทฤษฎีดังกล่าวอย่างคร่าว ๆ สามารถ
ดูได้ใน Ernesto Laclau, “An Interview with Ernesto Laclau: Questions from David Howarth”, in Ernesto Laclau:
Post-Marxism, Poplism, and Critique. David Howarth (Edited) (Oxon: Routledge, 2015), pp.257-271; Ernesto Laclau,
“Theory, Democracy, Socialism”. In New Reflections on the Revolution of Our Time (London: Verso, 1990), pp. 197-245.