Page 37 - kpiebook66004
P. 37
37
ดังนั�น การเปลี�ยนแปลงจากการเคลื�อนไหวทางสังคม ซึ�งเป็น anti-establishment politics หรือการเมือง
ที�ต่อต้านแนวทางสถาบััน มาสู่แนวทางของสถาบัันทางการเมืองอย่างพิรรคการเมืองนั�น จึงเป็นภารกิจที�ท้าทาย
และทำให้เกิดปัญหาตามมาเป็นอย่างมาก แน่นอนว่า แม้ว่า Iglesias นั�นเสนอแนวทางที�รวมศููนย์อำนาจของพิรรค
ไว้ที�ศููนย์กลางของพิรรค แต่สิ�งนั�นก็ได้ถูกรับัรองโดยเสียงการลงคะแนนในสมัชชาพิลเมืองของพิรรคไม่ใช่หรือ
การชนะเสียงในรูปแบับัของประชามติในลักษณีะนี� จึงเป็นความชอบัธิ์รรมของ Iglesias ที�ได้รับัการเห็นชอบัจาก
ที�ประชุมดดังกล่าว แต่แน่นอนว่าก็จะมีเสียงวิพิากษ์วิจารณี์ว่าการบัริหารจัดการแบับันี�ไม่เป็นประชาธิ์ิปไตย และ
ละเลยเสียงของผู้ที�อยู่ข้างล่าง ซึ�งไม่เป็นไปตามหลักการของความเท่าเทียมกัน แต่แน่นอนว่าการเข้าสู่สนามของ
สถาบัันทางการเมือง โดยเฉพิาะในระบับัรัฐสภาและพิรรคการเมืองนั�น จำเป็นที�จะต้องปรับัขบัวนของการ “ต่อสู้”
ให้เป็นไปตามกติกาที�มีอยู่ ดังนั�น การเข้าสู่การเมืองเชิงสถาบัันจึงหลีกเลี�ยงไม่ได้ที�จะต้องมีการจัดการที�เป็น
ลำดับัชั�น แต่การสละ/ละทิ�งการมีส่วนร่วมของมวลชนที�สนับัสนุน/ประชาชนที�มีโอกาสจะมาสนับัสนุนนั�น จะทำให้
เกิด “ประชาธิ์ิปไตยที�แท้จริง” ที�ดึง/รวบัรวมคนทุก ๆ กลุ่มเข้ามาให้มีบัทบัาทในการเมืองแบับัที�พิรรคตั�งใจ และ
ใช้เป็นนโยบัาย/แนวทางที�ได้กล่าวไว้ตั�งแต่แรกได้หรือไม่ เพิราะการเมืองแบับั “ประชานิยม” ที�ถูกตีความใหม่ จะ
สำเร็จได้ก็จะต้องประกอบัด้วยการมีส่วนร่วมดังกล่าวเป็นสำคัญ การใช้มวลชนใน “การเคลื�อนไหวทางสังคม” มาเป็น
97
ฐานเสียงของพิรรคการเมืองในสถาบัันทางการเมือง จึงไม่ได้เรื�องที�ง่าย และสามารถเปลี�ยนผ่านได้อย่างลงตัว แม้ว่า
การพิยายามที�จะเป็น “พิรรคลูกผสม” ดังที�ได้กล่าวไป ก็ยังไม่สามารถหาจุดที�สมดุลระหว่างทั�งสองอย่างได้
สุดท้าย จึงอาจต้องกลับัไปมองเพิียงผลลัพิธิ์์สุดท้าย— โดยที�อาจต้องยอมปิดตาข้างเดียวเพิื�อให้ไม่เห็น
วิธิ์ีการที�ไม่เป็นประชาธิ์ิปไตยของการบัริหารจัดการ— ของขบัวนการประชานิยมแบับัซ้ายกังที�ได้กล่าวมา ว่าจะ
สามารถรวบัรวมความต้องการของประชาชน ให้ประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจนำ และทำให้ประชาธิ์ิปไตยหยั�งรากลึก
ได้หรือไม่ ซึ�งจะได้อภิปรายในหัวข้อถัดไป ว่าพิรรคโปเดมอสมีวิธิ์ีการในการสร้างคู่ตรงข้ามใหม่ เพิื�อนำไปสู่เป้าหมาย
ดังกล่าวได้หรือไม่
3.3 การสร้างคู่ต์รงข้าม/ใช้้อุำนาจันำในการสลายคู่ต์รงข้ามเดิม และสร้างคู่ต์รงข้ามใหม่ได้อุย่างไร
แน่นอนว่าการเมืองนั�นเป็นเรื�องของการจัดปันสรรอำนาจ ไม่ว่าจะมีอำนาจในรูปแบับัไหน การต่อสู้กัน
เพิื�ออำนาจนั�นยังคงเป็นสาระของการเมือง แต่หากกล่าวถึงการต่อสู้ ก็จะต้องมีคู่ตรงข้าม การนิยามว่าคู้ตรงข้าม
คือใครสู้กับัใคร จึงเป็นเรื�องสำคัญ ในการเมืองแบับัประชานิยม สิ�งที�สำคัญที�สุดอย่างหนึ�งคือการสร้างคู่ตรงข้าม
การสร้างแนวหน้า หรือฝ่่ายทางการเมืองที�มีลักษณีะเป็นพิวกเรา ปะทะ พิวกเขา (Us versus Them) การเมือง
ประชานิยมในรูปแบับัทั�วไปอาจเป็น คนธิ์รรมดาสามัญ ปะทะ ชนชั�นสูงที�ถืออำนาจ หรือ คนดี ปะทะ คนชั�ว เป็นต้น
แต่ในกรณีีของพิรรคโปเดมอสนั�น เป็น Pablo Iglesias ได้กล่าวว่าคนที�ปล้น “พิวกเรา” ไปก็คือ กลุ่มคนรวย
(The Rich) ซึ�งไม่ได้จ่ายภาษีมากเท่าที�ควรจะเป็น ซึ�งในปี 2012 ผู้มีรายได้มากกว่า 300,000 ยูโรต่อปีจะต้อง
จ่ายภาษีในอัตราสูงสุดที�ร้อยละ 52 แต่คนรวยในสเปนไม่มีใครจ่ายถึง ด้วยกลไกภาษีของสเปนที�ทำให้คนรวย
98
เหล่านั�นจ่ายภาษีน้อยลง เช่น ภาษีจากการลงทุนจะเก็บัภาษีน้อยกว่าภาษีเงินได้ และมีช่องทางในการเลี�ยงภาษี
ขณีะเดียวกันกลุ่มคนจน (The Poor) นั�นต้องจ่ายภาษีในอัตราที�ไม่สัมพิันธิ์์กับัรายได้ที�ได้ และกลุ่มคนที�มีรายได้
ต�ำกว่า 33,000 ยูโรต่อปี (ประมาณีร้อยละ 80 ของประชากร) นั�น มีสัดส่วนในการจ่ายภาษีถึงร้อยละ 27.3 แต่ผู้มี
รายได้สูงกว่า 175,000 ยูโรต่อปี (ประมาณีร้อยละ 0.4 ของประชากร) มีสัดสวนในการจ่ายภาษีราวร้อยละ 16.3 99
97 Katsambekis and Kioupkiolis, The Populist Radical Left in Europe, 67.
98 Iglesias, Politics in a Time of Crisis.
99 Ibid.